“การจัดการประชุม” เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำนิสิต
ความสำคัญ 1. เป็นหลักฐานการปฏิบัติงานการปฏิบัติงานในองค์กร 1. เป็นหลักฐานการปฏิบัติงานการปฏิบัติงานในองค์กร 2. เป็นเครื่องมือติดตามงาน 3. ยุติข้อขัดแย้ง 4. เป็นหลักฐานอ้างอิง 5. เป็นข้อมูลข่าวสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แก่องค์กร ในการศึกษาและนำไปใช้ประโชยน์
องค์ประกอบของการประชุม 1. ประธาน 2. รองประธาน การนับองค์ประชุม **** 3. กรรมการ 4. กรรมการและเลขานุการ 5. ระเบียบวาระการประชุม 6. มติที่ประชุม 7. รายงานการประชุม (ถือเป็นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้)
บทบาทหน้าที่ บทบาทของประธาน บทบาทของเลขานุการ บทบาทของกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุม
กระบวนการในการจัดประชุม 1. กำหนดแผนประชุมให้ชัดเจน เสนอผ่านผู้บังคับบัญชาพิจารณาก่อนแจ้งให้บุคลากรภายในหน่วยงานทราบ 2. ประสาน/เตรียมการขอใช้สถานที่ อุปกรณ์สื่อโสตฯ อาหารว่าง 3. จัดทำหนังสือเชิญประชุม ประสานขอวาระ/เอกสารการประชุมให้เรียบร้อย 4. ประสานกรรมการ ติดตามหนังสือเชิญ และเตรียมเอกสารประชุม 5. จัดประชุม * (เพิ่ม) 6. จดมติที่ประชุม 7. จัดทำรายงานการประชุม 8. เวียนแจ้งมติที่ประชุม **** 9. จัดเก็บเอกสารเพื่อการอ้างอิง
การประชุมที่มีประสิทธิภาพ
การประชุมแบบไม่เป็นทางการ การจดบันทึกช่วยจำ รูปแบบการประชุมที่ไม่เป็นทางการ ที่ประชุมอาจกำหนด รูปแบบง่าย ๆ โดยไม่ต้องมีระเบียบวาระครบถ้วนเป็นแบบฉบับ มักใช้ในการประชุมที่ไม่ค่อยเป็นทางการหรือที่ประชุมกลุ่มย่อย ๆ ไม่มีการเชิญเข้าร่วมประชุมที่เป็นทางการ ซึ่งมีความจำเป็นเพื่อ พิจาณาเร่งด่วนร่วมกัน
พัฒนานิสิต สรรสร้างองค์ความคิด นิสิตเป็นสำคัญ ขอบคุณค่ะ