สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงการ
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
โครงการปรับปรุงศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ ของสหกรณ์สู่มาตรฐาน GMP
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
แผนปฏิบัติตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ จำนวนฟาร์มที่ตรวจประเมินและ รับรองมาตรฐาน 2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตและนำไป ปล่อยในแหล่งน้ำ 3. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่ผลิตในพื้นที่
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ประจำปี 2557
สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์นครพนม
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แผนภูมิการประเมินผลปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ. ระเบียบราชการพลเรือน พ. ศ.2551 ของ สำนักงานเกษตรจังหวัด เชียงราย คำรับรองปฏิบัติ ราชการกรมส่งเสริม รับรองปฏิบัติราชการ.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ภารกิจการรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ชื่อตัวชี้วัด ชนิดตัวชี้วัด ( แบบปริมาณ / แบบ ขั้นตอน ) ประเภทตัวชี้วัด.....(
การประชุมทีมงานเครือข่าย การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุง พันธุ์แพะ แสนศักดิ์ นาคะ วิสุทธิ์
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557

หลักการเหตุผลความจำเป็น e-Breeding การปรับปรุง พันธุ์สัตว์ การรับรองพันธุ์สัตว์ e-Breeding ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (e-Breeding) มีหน้าที่ ดำเนินงาน กำกับดูแล วิเคราะห์ แนะนำ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมปศุสัตว์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ของประเทศ โดยการ กำหนด กำกับ ดูแล การเลี้ยงและการทดสอบพันธุ์สัตว์ในฟาร์มราชการและเครือข่ายให้มีมาตรฐานและสอดคล้องกัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินคุณค่าทางพันธุกรรมของปศุสัตว์ ร่วมกัน ทั้งภาครัฐและเอกชน พิจารณาออกใบรับรองพันธุ์ประวัติปศุสัตว์ ผลิตและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางวิชาการ เพื่อใช้ประโยชน์ในการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพ

กระบวนงานใน e-Breeding ปัจจัยนำเข้า เครือข่ายเกษตรกร ปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุ์ รายชนิดสัตว์ ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ ข้อมูลประวัติสัตว์ สมรรภาพการผลิต สมรรภาพการสืบพันธุ์ กระบวนการ บันทึก/ตรวจสอบ พันธุ์ประวัติสัตว์ วิเคราะห์/ประเมินพันธุกรรมสัตว์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลผลิต รับรองพันธุ์ คุณค่าผสมพันธุ์ ดัชนีคัดเลือกพันธุ์ การรับรู้ข้อมูล ข้อมูลสารสนเทศ จากแหล่งข้อมูล

Data Migration Data Inputs Data Analysis เผยแพร่ Online จัดหาระบบงาน Steps จัดหาระบบงาน e-Breeding Data Migration Data Inputs Data Analysis เผยแพร่ Online

เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ รายงานความก้าวหน้า เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์

ประเภทเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ แบ่งออกได้ 3 ประเภท ดังนี้ ใช้ประโยชน์พันธุกรรมและเทคโนโลยี เรียกว่า “ผู้ใช้ประโยชน์ หรือลูกค้า” (Clientele/ Customer/ Service Recipients) 2. ปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์ เรียกว่า “ผู้ผลิตพันธุ์สัตว์” (Breeder) อนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง(Conservation) เรียกว่า “ผู้อนุรักษ์” (Conservator)

เงื่อนไขการมีแม่พันธุ์สำหรับเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ ที่ ชนิดสัตว์ ประเภทเครือข่าย หมายเหตุ ใช้ประโยชน์พันธุกรรมและเทคโนโลยี ปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์ อนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง 1 โคเนื้อ 3 ตัวขึ้นไป 5 ตัวขึ้นไป ไม่กำหนด ในแต่ละชนิดสัตว์เกษตรกรสมัครเข้าเป็นเครือข่ายได้เพียงประเภทเดียวเท่านั้น 2 โคนม 3 กระบือ 4 แพะ 30 ตัวขึ้นไป 5 แกะ 6 สุกร 10 ตัวขึ้นไป 25 ตัวขึ้นไป 7 สัตว์ปีก 50 ตัวขึ้นไป 100 ตัวขึ้นไป

การจัดระดับเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ A เครือข่ายระดับก้าวหน้า ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ร้อยละ 80-100 ระดับ B เครือข่ายระดับปานกลาง ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ร้อยละ 60-79.9 ระดับ C เครือข่ายระดับปรับปรุง ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ต่ำกว่าร้อยละ 60 วัตถุประสงค์ 1. รับรองพันธุ์และรับรองสายเลือด (พันธุ์ประวัติ) 2. เป็นเกณฑ์สนับสนุนสัตว์พันธุ์ดี 3. ใช้คัดเลือก Smart Farmer หรือเกษตรกรดีเด่น

เป้าหมาย ฟาร์มมาตรฐาน ปี 2557 ได้แก่ ฟาร์มโคนมสถานีปากช่อง ฟาร์มโคเนื้อศูนย์ลำพญา กลาง ฟาร์มสุกรศูนย์สุรินทร์ ฟาร์มสัตว์ปีกศูนย์สุรินทร์ ฟาร์มสุกร สถานีบุรีรัมย์ ฟาร์มสุกรศูนย์ท่าพระ ฟาร์มสัตว์ปีกสถานีอุบลราชธานี ฟาร์มสัตว์ปีกสถานีพิษณุโลก ฟาร์มสุกรศูนย์หนองกวาง ฟาร์มสัตว์ ปีกสถานีกระบี่ ฟาร์มโคเนื้อสถานีกระบี่ ฟาร์มแพะสถานีกระบี่ ฟาร์มสัตว์ปีกศูนย์ฯสุราษฎร์ธานี ฟาร์มโคนมสถานีสระแก้ว ฟาร์มโค เนื้อสถานีพิษณุโลก ฟาร์มสุกรสถานีสระแก้ว ฟาร์มไก่พันธุ์ศูนย์ฯตาก ฟาร์มโคเนื้อสถานีชัยภูมิ ฟาร์มเป็ดพันธุ์สถานีนครพนม ฟาร์มไก่พันธุ์ เลย

ขออนุมัติจำนวน 2 กองทุน 1 ขออนุมัติจำนวน 2 กองทุน 1. เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการผลิตจำหน่าย ด้านปศุสัตว์ 2. กองทุนส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กระทรวงการคลัง คณะกรรมการกลั่นกรอง การจัดตั้งเงินทุนหมุนเวียน ทั้ง 2 กองทุน

สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์จัดงาน ที่ระลึกวันก่อตั้ง 12 มิถุนายน 2470 สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ท่าพระเป็นแห่งแรก

สุ่มเก็บตัวอย่างดิน