งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โดย อาจารย์สันติ อภัยราช กศ.บ, น.บ. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรม ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร รองประธานสภาวัฒนธรรมภาคเหนือ

2 รัฐธรรมนูญ ปี๕๐ มาตรา ๖๖ กำหนดให้บุคคลรวมกันเป็นชุมชนท้องถิ่น มีสิทธิอนุรักษ์ฟื้นฟูประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปะอันดีงามของชาติ

3 กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายดังต่อไปนี้
รัฐธรรมนูญ ปี ๕๐ มาตรา ๘๐ กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายดังต่อไปนี้ ส่งเสริมสนับสนุน ความรู้รักสามัคคี การเรียนรู้ ปลูกจิตสำนึก และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น

4 วัตถุประสงค์ การตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
วัตถุประสงค์ การตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล ๑. เพื่อการสร้างความเข้มแข็งการดำเนินงานด้านวัฒนธรรมของภาคประชาชน ๒. เพื่อเป็นเครือข่ายทางวัฒนธรรมที่มีพลังในการขับเคลื่อนวัฒนธรรม ๓. เพื่อดำเนินการเป็นองค์รวม ไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านวัฒนธรรม ๔. เพื่อเป็นการ ดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพด้านวัฒนธรรม

5 สถานนะของสภาวัฒนธรรม
เป็นองค์กรภาคประชาชน อยู่ภายในการกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

6 องค์กรเครือข่ายประชาชนที่ดำเนินการในท้องที่นั้น ไม่น้อยกว่า ๕ กลุ่ม
สภาวัฒนธรรมมาจาก องค์กรเครือข่ายประชาชนที่ดำเนินการในท้องที่นั้น ไม่น้อยกว่า ๕ กลุ่ม

7 องค์กรเครือข่าย เครือข่ายภาครัฐ ได้แก่ หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การบริหาร ส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคเอกชน ได้แก่ สมาคม มูลนิธิ องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรการกุศล ที่ดำเนินการในท้องถิ่นนั้นๆ เครือข่ายภาคชุมชน ได้แก่ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มประชาสังคม กลุ่มออมทรัพย์ เครือข่ายภาคธุรกิจ ได้แก่ บริษัท ห้างร้าน ร้านค้า สหกรณ์ สื่อมวลชน และองค์กรธุรกิจ ๕ เครือข่ายภาควิชาการ ได้แก่ สถาบันการศึกษา ศาสนา พิพิธภัณฑ์ ภูมิปัญญา ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการ

8 สภาวัฒนธรรมตำบล มีเพียงสภาวัฒนธรรมตำบลละ ๑ แห่ง เท่านั้น
สภาวัฒนธรรมตำบล มีเพียงสภาวัฒนธรรมตำบลละ ๑ แห่ง เท่านั้น

9 หน้าที่ของสภาวัฒนธรรมตำบล
๑. อนุรักษ์ สืบทอด ส่งเสริม ประสานงาน การดำเนินงานกับกระทรวงวัฒนธรรม ผ่านสภาวัฒนธรรม อำเภอ และจังหวัด ๒. เสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินการ ทางด้านวัฒนธรรม และทำแผนพัฒนาการ ๓. เป็นศูนย์กลาง แลก เปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยเชื่อมโยงกับสภาวัฒนธรรมอำเภอและจังหวัด ๔. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการดำเนินการทางวัฒนธรรม ร่วมกับเครือข่ายวัฒนธรรม ๕. ระดมทรัพยากร และบุคลากร เพื่อดำเนินการด้านวัฒนธรรม

10 หน้าที่ของสภาวัฒนธรรมตำบล
๖. ส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา สร้างสรรค์ เผยแพร่ แลกเปลี่ยน สืบทอด และเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ๗. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งานวัฒนธรรม และเครือข่ายวัฒนธรรม ๘. ดำเนินการตามคณะกรรมการ สำนักงานวัฒนธรรม สภาวัฒนธรรมจังหวัด อำเภอร้องขอ

11 การได้มาของสภาวัฒนธรรมตำบล
ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เลือกตั้งจากสมาชิก ๕ เครือข่าย เป็นอย่างน้อย สรรหา สรรหาจากคณะกรรมการ ไม่เกิน ห้าคน หรือตัวแทนจากเครือข่าย ตกลงกันจาก ความเห็นของที่ประชุม ถือเป็นมติที่ประชุม สมาชิกรับรอง

12 สถานที่ตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
คัดเลือกจาก วัด โรงเรียน เทศบาล อบต. หรือสถานที่ที่สามารถตั้งสภาวัฒนธรรมตำบลได้

13

14

15

16 การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โดยอาจารย์สันติ อภัยราช กศ.บ, น.บ. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดกำแพงเพชร


ดาวน์โหลด ppt การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google