งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
โครงการลดต้นทุนและปรับปรุงประสิทธิภาพการเลี้ยงโคนมด้วยวิธีปฏิบัติได้และเห็นผลจริง ระยะเวลาโครงการ 6 ปี (เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)

2 วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
เพิ่มประสิทธิภาพในระบบการเลี้ยงโคนมและการผลิตน้ำนม เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม สร้างระบบการเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน และนำไปใช้ได้จริง เพื่อนำนักวิชาการลงไปสู่ปัญหาจริง ซึ่งจะเชื่อมผลงานวิจัย เพื่อนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในฟาร์ม สหกรณ์โคนมที่ได้รับคัดเลือก 20 สหกรณ์ ใน 4 ภาค รวม 10 จังหวัด เป้าหมาย

3 ภาคใต้และภาคตะวันตก จำนวน 5 สหกรณ์
สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ค ห้วยสัตว์ใหญ่ จำกัด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์ค อ่าวน้อย จำกัด จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ สหกรณ์โคนมท่าม่วง จำกัด จังหวัดกาญจนบุรี สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จำกัด (ในพระบรมราชูปถัมภ์) จังหวัดราชบุรี

4 ภาคกลางและภาคตะวันออก จำนวน 4 สหกรณ์
สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมหินซ้อน จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์โคนมหมวกเหล็ก จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์โคนมในเขตปฏิรูปที่ดินลำพญากลาง จำกัด จังหวัด สระบุรี สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมไทย – เดนมาร์ค (มิตรภาพ) จำกัด จังหวัด สระบุรี

5 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 สหกรณ์
สหกรณ์โคนมพิมาย จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์โคนมสีคิ้ว จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์การเกษตรคุ้มเจริญ จำกัด จังหวัดนครราชสีมา สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จำกัด จังหวัดมหาสารคาม สหกรณ์โคนมวาริชภูมิ จำกัด จังหวัดสกลนคร

6 ภาคเหนือ จำนวน 6 สหกรณ์ สหกรณ์โคนมแม่โจ้ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่
สหกรณ์โคนมแม่วาง จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมการเกษตรไชยปราการ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมเชียงใหม่ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมบ้านป่าตึงห้วยหม้อ จำกัด จังหวัดเชียงใหม่ สหกรณ์โคนมลำพูน จำกัด จังหวัดเชียงใหม่

7 งบประมาณดำเนินงาน งบประมาณอุดหนุนจ่ายขาดจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร (กองทุนFTA) วงเงิน ล้านบาท

8 วิธีดำเนินงาน 1.แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานโครงการ
2.คัดเลือกสหกรณ์โคนมเข้าร่วมโครงการ 20 สหกรณ์ เงื่อนไขคือ มีแม่โครวมกันไม่น้อยกว่า 500 ตัว และมีศักยภาพในการจ่ายสมทบ 3.สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาจากสถาบันการศึกษา 4 .กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์ที่เข้า ร่วมโครงการ

9 กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์
วิธีดำเนินงาน (ต่อ) กรมส่งเสริมสหกรณ์เบิกจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่สหกรณ์ ปีที่ 1 กองทุน FTA อุดหนุน 100 % ปีที่ 2 กองทุน FTA อุดหนุน 80 % สหกรณ์สมทบ 20 % ปีที่ 3 กองทุน FTA อุดหนุน 60 % สหกรณ์สมทบ 40 % ปีที่ 4 กองทุน FTA อุดหนุน 40 % สหกรณ์สมทบ 60 % ปีที่ 5 กองทุน FTA อุดหนุน 20 % สหกรณ์สมทบ 80 % ปีที่ 6 สหกรณ์จ่ายเต็ม 100 %

10 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 5. สหกรณ์จ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาเดือนละ 40,000.– บาท
ที่ปรึกษาดำเนินการตาม TOR ใน 8 ประเด็นหลักดังนี้ 5.1 ประเมินสถานการณ์ฟาร์ม 5.2 ตรวจเยี่ยมและดูแลสุขภาพสัตว์ 5.3 ถ่ายทอกความรู้สู่เกษตรกรและสหกรณ์ 5.4 ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

11 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 5.6 จัดการด้านคุณภาพน้ำนมโค
5.5 ปรับปรุงขนาดฝูงโคนม 5.6 จัดการด้านคุณภาพน้ำนมโค 5.7 สัดส่วนกำไรของฟาร์มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี 5.8 เกษตรกรสามารถจัดทำบัญชีฟาร์มได้ 6. ติดตามประเมินผลงานที่ปรึกษาตาม TOR ทุกปี โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร


ดาวน์โหลด ppt (เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google