สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
หลักการเหตุผลความจำเป็น e-Breeding การปรับปรุง พันธุ์สัตว์ การรับรองพันธุ์สัตว์ e-Breeding ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (e-Breeding) มีหน้าที่ ดำเนินงาน กำกับดูแล วิเคราะห์ แนะนำ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมปศุสัตว์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ของประเทศ โดยการ กำหนด กำกับ ดูแล การเลี้ยงและการทดสอบพันธุ์สัตว์ในฟาร์มราชการและเครือข่ายให้มีมาตรฐานและสอดคล้องกัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินคุณค่าทางพันธุกรรมของปศุสัตว์ ร่วมกัน ทั้งภาครัฐและเอกชน พิจารณาออกใบรับรองพันธุ์ประวัติปศุสัตว์ ผลิตและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางวิชาการ เพื่อใช้ประโยชน์ในการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพ
กระบวนงานใน e-Breeding ปัจจัยนำเข้า เครือข่ายเกษตรกร ปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาพันธุ์ รายชนิดสัตว์ ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ ข้อมูลประวัติสัตว์ สมรรภาพการผลิต สมรรภาพการสืบพันธุ์ กระบวนการ บันทึก/ตรวจสอบ พันธุ์ประวัติสัตว์ วิเคราะห์/ประเมินพันธุกรรมสัตว์ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ผลผลิต รับรองพันธุ์ คุณค่าผสมพันธุ์ ดัชนีคัดเลือกพันธุ์ การรับรู้ข้อมูล ข้อมูลสารสนเทศ จากแหล่งข้อมูล
Data Migration Data Inputs Data Analysis เผยแพร่ Online จัดหาระบบงาน Steps จัดหาระบบงาน e-Breeding Data Migration Data Inputs Data Analysis เผยแพร่ Online
เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ รายงานความก้าวหน้า เครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
ประเภทเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ แบ่งออกได้ 3 ประเภท ดังนี้ ใช้ประโยชน์พันธุกรรมและเทคโนโลยี เรียกว่า “ผู้ใช้ประโยชน์ หรือลูกค้า” (Clientele/ Customer/ Service Recipients) 2. ปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์ เรียกว่า “ผู้ผลิตพันธุ์สัตว์” (Breeder) อนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง(Conservation) เรียกว่า “ผู้อนุรักษ์” (Conservator)
เงื่อนไขการมีแม่พันธุ์สำหรับเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ ที่ ชนิดสัตว์ ประเภทเครือข่าย หมายเหตุ ใช้ประโยชน์พันธุกรรมและเทคโนโลยี ปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์ อนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง 1 โคเนื้อ 3 ตัวขึ้นไป 5 ตัวขึ้นไป ไม่กำหนด ในแต่ละชนิดสัตว์เกษตรกรสมัครเข้าเป็นเครือข่ายได้เพียงประเภทเดียวเท่านั้น 2 โคนม 3 กระบือ 4 แพะ 30 ตัวขึ้นไป 5 แกะ 6 สุกร 10 ตัวขึ้นไป 25 ตัวขึ้นไป 7 สัตว์ปีก 50 ตัวขึ้นไป 100 ตัวขึ้นไป
การจัดระดับเครือข่ายสัตว์พันธุ์ดีกรมปศุสัตว์ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ A เครือข่ายระดับก้าวหน้า ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ร้อยละ 80-100 ระดับ B เครือข่ายระดับปานกลาง ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ร้อยละ 60-79.9 ระดับ C เครือข่ายระดับปรับปรุง ได้คะแนน การประเมินจากตัวชี้วัด ต่ำกว่าร้อยละ 60 วัตถุประสงค์ 1. รับรองพันธุ์และรับรองสายเลือด (พันธุ์ประวัติ) 2. เป็นเกณฑ์สนับสนุนสัตว์พันธุ์ดี 3. ใช้คัดเลือก Smart Farmer หรือเกษตรกรดีเด่น
เป้าหมาย ฟาร์มมาตรฐาน ปี 2557 ได้แก่ ฟาร์มโคนมสถานีปากช่อง ฟาร์มโคเนื้อศูนย์ลำพญา กลาง ฟาร์มสุกรศูนย์สุรินทร์ ฟาร์มสัตว์ปีกศูนย์สุรินทร์ ฟาร์มสุกร สถานีบุรีรัมย์ ฟาร์มสุกรศูนย์ท่าพระ ฟาร์มสัตว์ปีกสถานีอุบลราชธานี ฟาร์มสัตว์ปีกสถานีพิษณุโลก ฟาร์มสุกรศูนย์หนองกวาง ฟาร์มสัตว์ ปีกสถานีกระบี่ ฟาร์มโคเนื้อสถานีกระบี่ ฟาร์มแพะสถานีกระบี่ ฟาร์มสัตว์ปีกศูนย์ฯสุราษฎร์ธานี ฟาร์มโคนมสถานีสระแก้ว ฟาร์มโค เนื้อสถานีพิษณุโลก ฟาร์มสุกรสถานีสระแก้ว ฟาร์มไก่พันธุ์ศูนย์ฯตาก ฟาร์มโคเนื้อสถานีชัยภูมิ ฟาร์มเป็ดพันธุ์สถานีนครพนม ฟาร์มไก่พันธุ์ เลย
ขออนุมัติจำนวน 2 กองทุน 1 ขออนุมัติจำนวน 2 กองทุน 1. เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการผลิตจำหน่าย ด้านปศุสัตว์ 2. กองทุนส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กระทรวงการคลัง คณะกรรมการกลั่นกรอง การจัดตั้งเงินทุนหมุนเวียน ทั้ง 2 กองทุน
สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์จัดงาน ที่ระลึกวันก่อตั้ง 12 มิถุนายน 2470 สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ท่าพระเป็นแห่งแรก
สุ่มเก็บตัวอย่างดิน