สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

การเสนอขออนุมัติโครงการ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การบริหารงานงบประมาณ
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
กลุ่ม อินทนนท์.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
การแต่งตั้งข้าราชการ
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การวางแผนและติดตามผลการ ปฎิบัติราชการอย่างมี มิติ เป้าประสงค์ มิติ คือ 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพของการ ปฎิบัติราชการ 2. ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ.
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
ขั้นตอนการจัดหาโดยการรับบริจาคของหน่วยงานกรมประมง
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การบริหารจัดการงบประมาณ ด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และครุภัณฑ์
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น.
กลุ่มที่ 4.
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. ช่วยเหลือและบรรเทาเหตุเบื้องต้นแก่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง ผู้ร่วมดำเนินการ ผส.ชป. 10, 11, 12, 13 ชคป. ในเขต สชป. 10, 11, 12, 13 ผคญ. 4, 14 กงบ., กผง., กกพ., สรธ., สคก., สจก.

โครงการชลประทานจังหวัด แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา (RID-CEO)

1. การมอบอำนาจด้านการบริหารงานบุคคล 1.1) การแต่งตั้ง และการดำเนินการทางวินัย - มีความเห็นคงตามที่กรมชลประทานได้มอบอำนาจ ให้ ผวจ. CEO 5 จังหวัดเดิม (เห็นด้วยกับคำสั่ง ข.397/2545 และ ข.222/2546) 1.2) การเลื่อนขั้นเงินเดือน - ผวจ. เสนอขอรับความดีความชอบ และกรมฯ จะต้อง พิจารณาให้เป็นกรณีพิเศษ

2. การบริหารงบประมาณ ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.187/2546 โดยขอแก้ไขดังนี้ ให้ตัดคำว่า 5 จังหวัดเดิมออก อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเป็นรายจ่ายอื่นได้ และต้อง ให้ตรงกับแผนงานเดียวกัน โดยไม่ให้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ

ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.148/2546 3. ด้านการพัสดุ ให้คงตามคำสั่งกรมที่ ข.148/2546 ไม่มอบเพิ่มเติม

กรณีฉุกเฉินเร่งด่วนเท่านั้น 4. การมอบอำนาจสั่งการ กรณีฉุกเฉินเร่งด่วนเท่านั้น เช่น อุทกภัย ภัยแล้ง

ไม่มอบ 5. การอนุมัติ / อนุญาต เพราะจะต้องพิจารณาโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างซึ่ง เป็นงานด้านวิศวกรรม และมีผลต่อความปลอดภัย แก่ชีวิตและทรัพย์สิน

6. ด้านอื่นๆ ควรจัดให้มีการระดมสมอง ภายหลังที่ได้เป็น RID-CEO ระยะหนึ่งเพื่อจะได้ทราบถึงทิศทาง ปัญหา จุดแข็ง และจุดอ่อน ของ CEO จังหวัด

สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง ผู้ร่วมดำเนินการ ผส.ชป. 10, 11, 12, 13 ชคป. ในเขต สชป. 10, 11, 12, 13 ผคญ. 4, 14 กงบ., กผง., กกพ., สรธ., สคก., สจก.

โครงการชลประทานจังหวัด แบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา (RID-CEO)

บทบาท / อำนาจหน้าที่ และขั้นตอนการดำเนินงาน บทบาท / อำนาจหน้าที่ และขั้นตอนการดำเนินงาน เมื่อท่านเป็น RID-CEO ท่านต้องการมีบทบาท / อำนาจหน้าที่อย่างไร เพื่อทำงานร่วมกับจังหวัด และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างไร จึงจะมีประสิทธิภาพ

1.1 การวางแผน บทบาท ขั้นตอน เป็นหน่วยงานในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและบริหารการจัดการน้ำของจังหวัด ขั้นตอน เสนอโครงการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อระดมความคิด การมีส่วนร่วมจาก อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนเกษตรกร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแหล่งน้ำ

ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อจัดทำแผนหลัก (Master Plan) ในการพัฒนาลุ่มน้ำย่อยและลุ่มน้ำหลักของจังหวัด เสนอแผนหลักให้คณะกรรมการจังหวัดพิจารณา และปรับแก้เพื่อเสนอ ผวจ. อนุมัติ

1.2 การประสานงานส่วนราชการและ อปท. บทบาท เป็นผู้ประสานงาน ขั้นตอน รวบรวมปัญหาการพัฒนาแหล่งน้ำจากส่วนราชการและ อปท. แล้วนำเสนอเข้าสู่ที่ประชุมจังหวัด เพื่อพิจารณา แนวทางการแก้ไขปัญหา

1.3 กระบวนการมีส่วนร่วม บทบาท เป็นเจ้าภาพเรื่องน้ำ ขั้นตอน เข้าร่วมกับคณะกรรมการฯ จังหวัด

1.4 การรายงาน บทบาท ประชาสัมพันธ์เรื่องน้ำ ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาและการบริหารจัดการน้ำ ขั้นตอน ให้คำปรึกษา-แนะนำการวางแผนในการพัฒนา จัดทำสื่อเผยแพร่ จัดทำระบบสารสนเทศ (IT)

1.5 การกำหนดตัวชี้วัด บทบาท เป็นผู้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จและรายงานผล ขั้นตอน ติดตามรวบรวมข้อมูลการพัฒนาแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นในจังหวัด เช่น พื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นไปตามแผนที่กำหนด

1.6 การติดตามประเมินผล บทบาท เป็นผู้วิเคราะห์และติดตามงานในพื้นที่ ขั้นตอน กำหนดขั้นตอนในการรายงาน ความต้องการของกิจกรรม การพัฒนาแหล่งน้ำ รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการรายงาน เพื่อประเมินผลและวิเคราะห์ ใช้เป็นเครื่องมือในการเร่งรัดแผนงานต่างๆ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย

1.7 การบริหารบุคคล/งบประมาณ บทบาท เป็นหน่วยงานหลักในการเบิกจ่ายงบประมาณ ขั้นตอน ดำเนินการตามหน้าที่ที่กำหนด

1.8 ระบบข้อมูลสารสนเทศ บทบาท เป็นหน่วยงานหลักที่จะต้องมีข้อมูลในการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการน้ำ ขั้นตอน จัดทำระบบสารสนเทศ GIS ให้สอดคล้องศูนย์สารสนเทศของจังหวัด

1.9 อื่นๆ ขอให้กรมชลประทานพิจารณา/ทบทวน แนวทางที่จะให้ ชคป. สามารถที่จะแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำโดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทาน ซึ่งปัจจุบันกรมชลประทานไม่มีแผนงาน/งบประมาณ ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ที่เกินความสามารถของ อปท. ที่มีลักษณะคล้ายงาน ชป.เล็ก แต่ขนาด/วงเงินน้อยกว่า หรืองานขุดลอกที่มีอาคารประกอบ (ท่อลอด, ฝาย, คันกั้นน้ำ เป็นต้น)