งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่ กระบวนการ (1) กำหนดค่า กลาง (2) ทำการบูรณาการ และ (3) สร้างนวัตกรรม สังคมต่อไป  บูรณาการบทบาทกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ทำความตกลงในระดับ ส่วนกลางเกี่ยวกับความ ร่วมมือของ อปท. กับ หน่วยงานสาธารณสุขใน ประเด็นการพัฒนา สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ และการสนับสนุน นวัตกรรมสังคม แต่งตั้งนายก อปท. หรือ ผู้แทนเข้าร่วมเป็น คปสอ. ระดับอำเภอ มอบบทบาทการพัฒนาส่วน สภาวะแวดล้อมของกลุ่มวัยฯ ให้ อปท. โดยใช้บัญชีค่า กลางสำหรับโครงการ สุขภาพฯที่ สสจ. กำหนดชุด เดียวกับ รพสต. และกองทุนฯ วางระบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน ได้ระหว่าง อปท. กับ สธ. จะเริ่ม อย่างไร ?

2  เพิ่มทักษะในการบริหาร จัดการโครงการแบบบูรณา การให้กับสาธารณสุข อำเภอและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นโดย 1. ใช้การเรียนการสอนที่มี การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์ จริง 2. ใช้วิทยากรที่มีอยู่ใน ระดับเขต 2 - 3 เปนหลัก เสริม ด้วยวิทยากรกลาง ( ถ้า จำเป็น ) 3. ร่วมมือกับคณะ สาธารณสุขศาสตร์ ม. นเรศวร จัดหลักสูตรเฉพาะสำหรับ กลุ่มเป้าหมายทั้งสอง  ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหาร จัดการ ( Management Information) ระดับอำเภอ 1. เนื่องจากจะมีการบูรณาการ งานระดับท้องถิ่น / ตำบลจึง ควรปฏิรูประบบการเก็บและ รายงานข้อมูลในระดับต่างๆ ให้สอดคล้อง 2. พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูป ระบบสุขภาพระดับอำเภอ ( DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและ ใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯ กำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบ รายงานใหม่ตลอดทางจนถึง ส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่ เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบ ข้อมูลเดิม

3  ปรับระบบการสนับสนุน ของจังหวัดและเขตต่อ อำเภอ / ตำบล 1. กำหนดงานสนับสนุนจาก พื้นฐานของงานในค่ากลาง ของฝ่ายปฏิบัติ 2. ใช้วิธีเจรจาความร่วมมือ ระหว่างฝ่ายปฏิบัติและ สนับสนุน 3. สรุปกิจกรรมสนับสนุนจาก งานสนับสนุนที่ตกลงกัน 4. บูรณาการงานสนับสนุนเข้า ด้วยกันแล้วจัดสรรกิจกรรม สนับสนุนตามบทบาทหน้าที่ ของฝ่ายต่างๆ 5. สร้างแผนงาน / โครงการ สนับสนุนของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 6. สร้างแผนปฏิบัติการร่วม ระหว่างฝ่ายสนับสนุน  ปรับระบบตัวชี้วัดให้ ตอบสนองกับการ เปลี่ยนแปลงในพื้นที่ที่ใช้ ระบบค่ากลางและบูรณา การ 1. ใช้ตัวชี้วัด 3 ชนิด คือ KRI, KPI, และ PI 2. KPI ใช้โดยผู้ปฏิบัติ เพื่อ ควบคุมทิศทางของการ พัฒนาด้วยตนเอง 3. สสอ. สนับสนุนผู้ปฏิบัติใน การบรรลุ KPI 4. PI ถูกส่งผ่านจากพิ้นที่ จนถึงส่วนกลางเพื่อใช้ใน การจัดสรรงบประมาณ 5. ข้อมูลถูกวิเคราะห์และ ป้อนกลับในระดับอำเภอ จังหวัดและเขต 6. ใช้ KRI ในการประเมินผล ส่วนกลาง เป็นผู้ออกแบบ และเก็บข้อมูลโดยตรงใน ฐานะ External Evaluator

4 จะจบอย่างไร ? หน่วยงานระดับเขตเป็นศูนย์กลางการพัฒนา สุขภาพของกลุ่มวัยที่กำหนด มีการบูรณาการบทบาทร่วมกันระหว่างกรมต่างๆ และสำนักงานปลัดฯ มีการเพิ่มทักษะในการบริหารจัดการโครงการ แบบบูรณาการให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการสร้างและจัดการนวัตกรรมสังคม มีแนวคิดและวิธีวางแผนงานโครงการใหม่ที่สอด รับกับเทคนิคการบูรณาการ ( จากโครงการราย ประเด็นสู่โครงการรายกิจกรรม เพื่อจำกัดจำนวน โครงการให้เหลือ 2 โครงการ สำหรับ กลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม จะเหมาะสม สำหรับมอบให้ภาคปะชาชนและท้องถิ่น มีระบบข้อมูลและตัวชี้วัดที่สร้างจากการบูรณาการ ของงานที่ปฏิบัติจริงในพื้นที่


ดาวน์โหลด ppt คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google