โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โรงเรียนดีประจำตำบล.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
สาเหตุและความเป็นมา ประเด็นอภิปราย 3 ประการ สภาพของปัญหา แนวความคิดสำคัญเพื่อ การพัฒนา.
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่โครงการงบประมา ณ ( บาท ) กลุ่มเป้าหม าย 5 โครงการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็ก ปฐมวัยในชุมชน 21,000, เรื่อง 1 หลักสูตร มีทั้งสิ้น 7 โครงการ เป็นเงิน 148,655,200.
โครงการภายใต้ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
คัดเลือกรายชื่อครูแกนนำ. ความสำคัญของครูแกนนำ ครูแกนนำเป็นผู้มีส่วนนำความสำเร็จ ในการพัฒนาศีลธรรม ทั้งในโรงเรียนและชุมชน ทำหน้าที่: ประสานงานพัฒนาด้านศีลธรรมในสังคม.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
ผลสัมฤทธิ์ การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายตามกลยุทธ์ ปีงบประมาณ 2555 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม หลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการ.
ทิศทาง จุดเน้น การบริหารจัดการศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๖
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

การขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ สถานศึกษา ที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ไม่ได้รับการรับรอง และ สถานศึกษาในโครงการวิจัยและ พัฒนาฯตามความร่วมมือระหว่าง สพฐ. และ สมศ. ปีงบประมาณ จำนวน ( แห่ง ) , , ,430

การขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติ สภาพความสำเร็จ สถานศึกษา กลุ่มเป้าหมายในแต่ละปีจะต้องมี ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกเพิ่มขึ้นและได้รับการรับรอง คุณภาพของสมศ. ในรอบถัดไป ความสำเร็จรายปี เพิ่มขึ้น ปีแรก 0.25 ปีที่ ปีที่

การขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติ ระดับสถานศึกษา กิจกรรม / เกณฑ์การจัดสรร ด้านผู้เรียน เสริมสร้างการเรียนรู้ตาม ศักยภาพผู้เรียน คนละ 423 บาท / ปี ด้านครูและผู้บริหาร เพิ่มศักยภาพการจัดการเรียนรู้ คนละ 3,970 บาท ( จัดเฉพาะค่าพาหนะให้ 950 บาท / ปี ) ด้านผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จัดจ้างอาสาสมัครชุมชนช่วย สอน โรงเรียนละ 10,000 บาท / ปี ด้านสื่อและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ - จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์เสริม โรงละ 15,000 บาท / ปี - จัดซื้อสื่ออิเลคทรอนิกส์ โรงละ 10,240 บาท / ปี

การขับเคลื่อนสู่ การปฏิบัติ ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา กิจกรรม / เกณฑ์การจัดสรร การเสริมสร้างความ เข้มแข็งระบบการ ประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา จัดตั้งเครือข่ายการบริหารจัดการ คุณภาพ เขตละ 54,940 บาท / ปี เพิ่มศักยภาพ รอง ผอ. สพท. ศน. ผู้แทน กตปน. และกรรมการ สถานศึกษา 3 คน / 1,500 บาท / ปี กำกับ ติดตามและประเมิน คุณภาพสถานศึกษา โรงละ 1,450 บาท / ภาคเรียน การวิจัยและพัฒนาระดับเขต พื้นที่การศึกษา เขตละ 48,124 บาท การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ ภูมิภาค 634,146 บาท

การขับเคลื่อน สู่การปฏิบัติ การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และ รายงานผล ประกอบด้วย ระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน ผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ และการลงพื้นที่จากส่วนกลางและ หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ระบบการเฝ้าระวัง ON-LINE เพื่อ ติดตามความก้าวหน้าของผลเทียบกับ แผน / เกณฑ์