Spherical Trigonometry ตรีโกณมิติทรงกลม Spherical Trigonometry http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry ผู้สอน : อ. ดร. สาริสา ปิ่นคำ ติดต่อผู้สอน Email: sarisa04@live.com line: sarisa04 Facebook: ดร สาริสา ปิ่นคำ Office : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการของระบบสามเหลี่ยมทรงกลม เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพ http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry การประเมินผลการเรียน สัดส่วนคะแนน จำนวนเปอร์เซ็นต์ การสอบ - จิตพิสัย 10 - สอบโดยอาจารย์/งานที่ส่ง 35 - สอบระหว่างภาคการศึกษา 25 - สอบปลายภาคการศึกษา 30 http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด A 80 – 100 คะแนน B+ 75 – 79 คะแนน B 70 – 74 คะแนน C+ 65 – 69 คะแนน C 60 – 64 คะแนน D+ 55 – 59 คะแนน D 50 – 54 คะแนน F ต่ำกว่า 50 คะแนน http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry เอกสารที่ใช้ประกอบการสอน มนัส บุญยัง ตรีโกณมิติทรงกลม สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2530 http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
Spherical Trigonometry รายละเอียดรายวิชา บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตศาสตร์สามมิติ บทที่ 2 เรขาคณิตเชิงทรงกลม บทที่ 3 สามเหลี่ยมเชิงทรงกลมฉาก บทที่ 4 สามเหลี่ยมเชิงทรงกลมเฉียง บทที่ 5 การแก้ปัญหาสามเหลี่ยมเชิงทรงกลมเฉียงโดยวิธีอื่นๆ บทที่ 6 บทประยุกต์เกี่ยวกับแนวทางและระยะทางบนทรงกลมโลก บทที่ 7 บทประยุกต์เกี่ยวกับทรงกลมท้องฟ้า http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
ตรีโกณมิติ ?? Spherical Trigonometry เราสามารถวัดระยะทางได้หลายวิธี โดยการเลือกใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสม เช่น สายวัด ไม้เมตร ตลับเมตร แต่ในบางครั้งที่ระยะทางไกลมากๆ เช่นระยะทางระหว่างจังหวัด ระยะทางระหว่างประเทศ ระยะทางระหว่างดวงดาว เราไม่สามารถใช้เครื่องมือที่กล่าวมาวัดระยะทางได้ เราสามารถใช้ทฤษฏีสามเหลี่ยมคล้ายและตรีโกณมิติในการเทียบวัดระยะทางได้ http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน ?? Spherical Trigonometry ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน ?? ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน เป็นหนึ่งในระบบพิกัดฉากที่บอกตำแหน่งของวัตถุในสามมิติ ซึ่งมักใช้ประโยชน์ในการบอกตำแหน่งของวัตถุใดๆ จากจุดกำเนิดด้วยคู่อันดับ และยังสามารถแปลงให้อยู่ในระบบพิกัดอื่นๆ ได้โดยใช้ทฤษฎีบทปิทาโกรัสและตรีโกณมิติ http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน Spherical Trigonometry ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน การประยุกต์ใช้ระบบพิกัดนี้เห็นได้จากการบอกตำแหน่งบนพื้นโลก (ตามแผนที่ทั่วไป) โดยมี ลองจิจูด เป็นแกน X ละติจูด เป็นแกน Y ความสูงจากระดับน้ำทะเลเป็นแกน Z นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้กับการบอกตำแหน่งดาวบนทรงกลมท้องฝ้าอีกด้วย http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
ระบบพิกัดทรงกลม Spherical Trigonometry ระบบพิกัดทรงกลม เป็นหนึ่งในระบบพิกัดเชิงขั้วที่บอกตำแหน่งของวัตถุในสามมิติ ซึ่งใช้ประโยชน์ในการบอกตำแหน่งของวัตถุที่อยู่บนพื้นผิวทรงกลม (หรือเกือบกลม ระบบพิกัดทรงกลมนี้จะบอกตำแหน่งด้วยคู่อันดับ รัศมี มุมแนวราบ และมุมแนวดิ่ง ซึ่งระบบพิกัดนี้สามารถแปลงให้อยู่ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนได้โดยใช้ทฤษฏีปิทาโกรัสและตรีโกณมิติ http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
ระบบพิกัดทรงกลม Spherical Trigonometry การประยุกต์ระบบพิกัดทรงกลม จะเห็นได้จากการบอกตำแหน่งบนพื้นโลก โดยมี ลองจิจูดเป็นมุมแนวราบ ละติจูดเป็นมุมแนวดิ่ง รัศมีโลกเป็นรัศมี (6378 กม ) นอกจากนี้ยังมีประยุกต์ใช้ในการบอกตำแหน่งดาวบนทรงกลมท้องป้า http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
สามเหลี่ยมทรงกลม ??? Spherical Trigonometry สามเหลี่ยมทรงกลม คือ รูปปิดบนผิวโค้งทรงกลมชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการตัดกันของวงกลมวงใหญ่ 3 วง โดยสามเหลี่ยมทรงกลมจะมีสมบัติต่างจากสามเหลี่ยมบนระนาบ http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi
สามเหลี่ยมทรงกลม Spherical Trigonometry การประยุกต์ใช้ คือ การคำนวณตำแหน่งดาวเพื่อใช้ในการเดินเรือ การคำนวณเกี่ยวกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์บนพื้นโลก โดยการคำนวณต่างเหล่านี้ต้องใช้วิธีทางคณิตศาสตร์ที่เรียกว่า “ตรีโกณมิติทรงกลม” http://www.teacher.ssru.ac.th/serisa_pi