ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
พระไตรปิฎก.
การชุมนุมเพื่องานการเผยแผ่ธรรม
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
สื่อประกอบการเรียนรู้
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
หลักธรรมเพื่อชีวิตและสังคม
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
ระบบความเชื่อ.
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาในประเทศไทย.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
ศาสนาอิสลาม.
รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัส ส43102 เรื่อง พระไตรปิฏก
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
ศาสนาคริสต์.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เรื่อง
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ปฏิบัติตนตามหลักธรรม คำสอนในการอยู่ร่วมกันได้

หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน ศาสนาพุทธ

เป็นที่รวบรวมหลักธรรมคำสอนของ องค์พระศาสดาไว้เผยแผ่และสั่งสอน ศาสนา คัมภีร์หรือตำรา เป็นที่รวบรวมหลักธรรมคำสอนของ องค์พระศาสดาไว้เผยแผ่และสั่งสอน

คำสั่งสอน งดและเว้น ประพฤติชั่ว ให้ประพฤติดี

พระไตรปิฎก เป็นที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธศาสนา ตะกร้าสามใบ ติปิฎก (ติ = สาม + ปิฎก = ตำรา + คัมภีร์=กระจาด)

ไตรลักษณ์ ขันธ์ 5 หลักคำสอน อริยสัจ 4 กฎแห่งกรรม

ไตรลักษณ์ อนิจจตา อนัตตตา ทกขตา (ความไม่เที่ยงแท้) (ภาวะที่มิใช่ตัวตน) (ความทนอยู่ไม่ได้)

ขันธ์ 5 รูป สังขาร วิญญาณ สัญญา เวทนา

อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ) ทุกข์ มรรค สมุทัย นิโรธ

หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน การปกครอง การทำความดี การดำรงชีวิต

หลักในการปกครอง (ทศพิธราชธรรม) 1. การให้ 2. การตั้งอยู่ในศีล 3. การบริจาค 4. ความซื่อตรง

5. ความอ่อนโยน 6. ความมีตบะ 7. ความไม่โกรธ 8. ความไม่เบียดเบียน 9. ความอดทน 10. ความไม่คลาดธรรม

หลักธรรมในการดำรงชีวิต อ่อนน้อมถ่อมตน โลกธรรม 8 ความเคารพ บุญกิริยาวัตถุ 3 ความไม่ประมาท

หลักธรรมในการทำความดี สุจริต 3 กตัญญูกตเวที ทุจริต 3

ศาสนาอิสลาม หลักศรัทธา หลักปฏิบัติ 6 ประการ 5 ประการ

หลักศรัทธา 1. ศรัทธาในอัลเลาะฮ์ 2. ศรัทธาในมลาอีกะฮ์(เทวทูต) 3. ศรัทธาในพระคัมภีร์ของพระเจ้า (คัมภีร์อัล-กุรอาน)

4. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต (ศาสดา) 5. ศรัทธาต่อวันปรโลก (วันพิพากษา) 6. ศรัทธาต่อกฎกำหนด สภาวะ(ลิขิตของพระเจ้า)

หลักปฏิบัติ 1. การกล่าวปฏิญาณตน 2. การนมัสการ 5 เวลา (ละหมาด) 3. การบริจาคซะกาต (การบริจาคทรัพย์)

4. การถือศีลอด 5. การประกอบพิธีฮัจญ์

ศาสนาคริสต์ 1. ความกรุณา 2. ความพอประมาณ

3. ความรอบคอบ 4. ความรัก 5. คุณธรรม

คุณธรรมพื้นฐาน 4 ประการที่ควรเคารพ 1.ความยุติธรรม 2.ความอดทน 3.ความรอบคอบ 4.ความพอประมาณ

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 1. ไม่พึงทำร้ายผู้อื่น 2. มีความกรุณา 3. ต้อนรับผู้อื่นด้วยความ เต็มใจ

4. การมีสัจจะ 5. ไม่ลักทรัพย์ 6. ทำตามหน้าที่

คุณธรรมการอยู่ร่วมกัน 1. ปกครองตนเองได้ 2. เป็นคนดี 3. ทำให้สังคมดีขึ้น