จุดประสงค์ เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ความสำคัญและสืบทอดกิจกรรมทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นประเพณีที่สำคัญของชุมชนบ้านดอน เพื่อเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพบุรุษ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รายงานธุรกิจ.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ชุมชน หมู่บ้านสามพราน หมู่๘ ตำบลอ้อมใหญ่ อ. สามพราน จ.นครปฐม
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน ศาสนพิธี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
มอบโลกใบใหม่ แห่งการเรียนรู้แก่ผู้สูงวัย
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
การประชุมคณะอนุกรรมการการจัดการความรู้ของ ยศ.ทร. ครั้งที่ ๔
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอหัวข้อนิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ม
มาตรฐานวิชาชีพครู.
รายละเอียดของรายวิชา
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การรายงาน การประเมินผลโครงการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
INSIDE SURATTHANI INSIDE SURATTHANI สวนโมกขพลารามหรือวัดธาร น้ำไหล อยู่บริเวณเชิงเขาพุทธ ทอง ทางหลวง 41 ตรงหลักกิโลเมตรที่ 134 เป็น สำนักสงฆ์ที่สวยงามตาม.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
My school.
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
My school.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
ข้อที่ คำถาม คำตอบ ๑ คิดอย่างไรถึงมาเลี้ยง กุ้งขาว เป็นอาชีพที่ทำกันมานานและ เป็นการทำรายได้มหาศาล ปัจจุบันจะเลี้ยงยาก ๒ในการขุดบ่อควร คำนึงถึงพื้นที่บริเวณใด.
เกม 4 ตัวเลือก โดย นางสาวสาวิตรี ธรรมรัตน์ชัย
การเขียนรายงาน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การเขียนเชิงกิจธุระ.
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องค์ประกอบของวรรณคดี
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
กิจกรรมชุมนุมศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กศน. ตำบลคูหาสรรค์ อ. เมือง จ
ทีมวิจัย ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น. หน่วยที่ 1 จัดตั้งชุมนุม - มีนักเรียนร่วมโครงการ 17 คน - มีจุดประสงค์การเรียนรู้ - เลือกตั้งคณะกรรมการชุมนุม 1.นางสาวญาณนันท์
การเปลี่ยนแปลงของประเพณี สำคัญในชุมชนคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง หัวข้อวิจัย 1. การเปลี่ยนแปลงของประเพณีทอดผ้าป่าทิพย์ในชุมชนคูหา สวรรค์อำเภอเมือง.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำกับความสัมพันธ์ของคนในชุมชนบ้านดอนจากอดีตถึงปัจจุบัน

จุดประสงค์ เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้ความสำคัญและสืบทอดกิจกรรมทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นประเพณีที่สำคัญของชุมชนบ้านดอน เพื่อเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพบุรุษ เอกลักษณ์ของชุมชนให้คงถาวรสืบไป

คำถามวิจัย ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำของชุมชนบ้านดอนเป็นอย่างไรก่อให้เกิดความสัมพันธ์ของคนกลุ่มต่างๆ ในชุมชนบ้านดอนอย่างไร เปลี่ยนแปลงมาอย่างไร ด้วยเงื่อนไขใด?

วิธีการศึกษา การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ คณะยุววิจัยได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับประเพณีทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ รวมทั้งข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านดอนจากเอกสารของเทศบาลนคร สุราษฎร์ธานี และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ คณะยุววิจัยได้สัมภาษณ์บุคคลต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านดอน และกลุ่มบุคคลภายนอกชุมชนที่มาร่วมกิจกรรมในงานประเพณีทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ เพื่อทราบถึงความเป็นมา เหตุผลของการเข้าร่วมกิจกรรม ความเชื่อต่อประเพณีและความเปลี่ยนแปลงของประเพณี ขั้นตอนการเตรียมการของผู้เข้าร่วมประเพณี ความเกี่ยวข้องของประเพณีทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ผลที่ได้รับจากการเข้าร่วมงานประเพณีและความเปลี่ยนแปลงของประเพณีจากอดีตถึงปัจจุบัน

ส่วนประกอบของงานวิจัย แบ่งเนื้อหาเป็นบท ๕ บท ได้แก่ - บทที่ ๑ ความเป็นมา - บทที่ ๒ ชุมชนบ้านดอน - บทที่ ๓ ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำยุคเริ่มต้นและรุ่งเรือง - บทที่ ๔ ยุคการเปลี่ยนแปลงของประเพณีทอดผ้าป่าวันแรม ๑ ค่ำ - บทที่ ๕ บทสรุป

“ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน”

ชุมชนบ้านดอน (ในอดีต)

ชุมชนบ้านดอน (ในปัจจุบัน)

ชุมชนบ้านดอน (ในปัจจุบัน)

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำในอดีตของคนชุมชนบ้านดอน

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำในปัจจุบันของชุมชนบ้านดอน

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำในปัจจุบันของชุมชนบ้านดอน

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำในปัจจุบันของชุมชนบ้านดอน

ประเพณีทอดผ้าป่าวันแรมค่ำในปัจจุบันของชุมชนบ้านดอน

ประเพณีชักพระ(ในอดีต)

ประเพณีชักพระ(ในปัจจุบัน)

ประเพณีชักพระ(ในปัจจุบัน)

เบื้องหลังการปฏิบัติงานของคณะวิจัย…

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

เบื้องหลังการทำงานของสมาชิกยุววิจัย

คณะผู้วิจัยและครูที่ปรึกษา นายเกรียงศักดิ์ แสงสุวรรณ นางสาวกฤตลักษณ์ สุขได้พึ่ง นางสาวปภัสสร ทองนิยม นางสาวชลธิชา ชูรัตน์ นางสาวดลฤทัย ล่องประเสริฐ ครูที่ปรึกษา นางสาวเสาวนีย์ เพชรทรัพย์

ขอบคุณค่ะ…