มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ในแฟ้มข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เผด็จศักดิ์ ชอบธรรม กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
Vaccine coverage in < 5 years Thailand 2542, 2546, 2551, 2556 BCG 98 99 99.9 100 DTP3 97 98 98.7 99.4 OPV3 97 98 98.7 99.4 HB3 95 96 98.4 99.4 Measles 94 96 98.1 98.7 JE2 84 87 94.6 96.1 JE3 - 62 89.3 91.9 DTP4 90 93 96.5 97.8 DTP5 - 54 79.4 90.3 T2 (or booster) 90 93 93 98.4 National Immunization Program, Thailand 2
อัตราความครอบคลุมของการให้บริการวัคซีน ปีงบประมาณ 2552 - 2557 ลำดับที่ ชนิดวัคซีน ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 1 BCG 14.33 13.58 18.16 38.18 31.9 38.8 2 HB 17.56 NA 55.98 39.52 32.1 37.8 3 DTP-HB3 18.55 35.79 57.08 59.76 63.4 60.9 4 OPV3 44.97 55.01 59.44 65.75 63.6 61 5 MMR1 42.63 50.79 47.41 61.76 64.1 57.1 6 DTP4 36.58 55.60 51.98 58.5 54.1 7 OPV4 37.31 55.14 56.99 51.80 63.9 59 8 JE2 38.39 55.18 54.69 50.39 60.4 54.5 9 JE3 33.62 53.38 52.02 47.46 52.4 10 DTP5 25.34 46.53 46.41 41.91 55.2 54.8 11 OPV5 26.73 45.93 46.22 41.47 54.7 54.3 12 MMR2 1.66 6.22 26.07 10.67 33.3 21.6 13 dT 1.14 4.99 18.79 9.69 27 16.7 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2557 ประมวลผลข้อมูลระหว่างเดือน ต.ค. 56 – มิ.ย. 57
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
ตัวอย่างรหัสวัคซีนใน EPI
ตัวอย่างรหัสวัคซีนนอก EPI ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ(เดือน) ชื่อโรคที่ป้องกัน รหัส ICD_10 _TM I11 IPV1 ไอพีวี1 2 เดือน โรคโปลิโอ Z24.0 I12 IPV2 ไอพีวี2 4 เดือน I13 IPV3 ไอพีวี3 ฉีด 6 เดือน I14 IPV4 ไอพีวี4 1 ปีครึ่ง I15 IPV5 ไอพีวี5 4 ปี J11 JE1 : Lived attenuated เจอีเชื้อเป็น1 9 เดือนขึ้นไป โรคไข้สมองอักเสบเจอี Z24.1 J12 JE2 : Lived attenuated เจอีเชื้อเป็น2 ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย 3 เดือน M11 MMRV1 เอ็มเอ็มอาร์วี1 ตั้งแต่อายุ 9 เดือน – 12 ปี โรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน-อีสุกอีใส Z27.4,Z25.8 M12 MMRV2 เอ็มเอ็มอาร์วี2 ฉีดกระตุ้นห่างจาก โด๊สแรกอย่างน้อย 6 สัปดาห์
รหัสวัคซีน เพิ่มเติมใน EPI ปี 2557-58 1. การให้วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน (MR)ในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 (แต่เดิมให้ MMR ใน ป.1) 2. ปรับการให้วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมันในเด็ก ป.1 เป็นให้ในเด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน (เริ่ม ส.ค. 57) 3. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ 072 MMRS หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด ป.1 073 MMR2 2 ปี 6 เดือน 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์
การตรวจสอบรหัสวัคซีน ในโปรแกรม JHCIS
รหัสข้อมูล รหัสยาและเวชภัณฑ์
รหัสยาและเวชภัณฑ์ กลุ่มวัคซีน
โปรแกรม HOSxP, HOSxP PCU การตรวจสอบรหัสวัคซีน รหัสใน person_vaccine รหัสในกลุ่มย่อย (WBC_vaccine, epi_vaccine, student_vaccine และ ANC_service รหัสส่งออก (เมนู tool ส่งออก 18/21 แฟ้ม click ปุ่มกำหนดรหัสพื้นฐาน (ด้านล่าง) แถบวัคซีน (ด้านซ้าย) โปรแกรม HOSxP, HOSxP PCU โปรแกรม JHCIS รหัสยาและเวชภัณฑ์ รหัสมาตรฐาน J
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิด เป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การบันทึกข้อมูลการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวอย่างทะเบียนการให้บริการวัคซีนในกระดาษ
ตัวอย่างทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนในกระดาษ
สามารถค้นหาได้จาก ชื่อ สกุล HN หรือเลขประจำตัวประชาชน โปรแกรม JHCIS สามารถค้นหาได้จาก ชื่อ สกุล HN หรือเลขประจำตัวประชาชน
การบันทึกวัคซีน โปรแกรม JHCIS
การบันทึกวัคซีน (ต่อ) โปรแกรม JHCIS
การบันทึกความครอบคลุมวัคซีน ผ่าน หน้าการให้บริการ โปรแกรม JHCIS
การบันทึกความครอบคลุมวัคซีน ผ่าน หน้าการให้บริการ (ต่อ) โปรแกรม JHCIS
การบันทึกความครอบคลุมวัคซีน ผ่าน หน้าการให้บริการ (ต่อ) โปรแกรม JHCIS
โปรแกรม JHCIS
ทะเบียนผู้รับบริการ โปรแกรม JHCIS
ทะเบียนผู้รับบริการ (ต่อ) โปรแกรม JHCIS
ตัวอย่าง ทะเบียนผู้รับบริการ โปรแกรม JHCIS
ทะเบียนความครอบคลุม โปรแกรม JHCIS
ทะเบียนความครอบคลุม (ต่อ) โปรแกรม JHCIS
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของ การบันทึกข้อมูลการให้บริการ กรณี print out รายงานได้ ตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลตั้งต้น เช่น จาก family folder หรือทะเบียนผู้รับบริการ (กระดาษ) กับทะเบียนผู้รับบริการที่ print out จากคอมพิวเตอร์ (ทะเบียน Y หรือทะเบียนที่ส่งออก excel) กรณี print out รายงานไม่ได้ ตรวจสอบเป็นรายบุคคลกับข้อมูลผู้รับบริการหน้าจอคอมพิวเตอร์
โปรแกรม JHCIS
เปรียบเทียบความครบถ้วนถูกต้องของการบันทึกข้อมูลการใช้บริการระหว่าง Family Folder กับ ทะเบียน print out โปรแกรม JHCIS
ตัวอย่างการเปรียบเทียบความครบถ้วนถูกต้องของการบันทึกข้อมูล การให้บริการระหว่างทะเบียนในสมุด กับ ทะเบียน print out โปรแกรม JHCIS
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5.การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป เพื่อคาดประมาณจำนวนวัคซีนในการให้บริการและติดตามให้มารับวัคซีนในครั้งต่อไป
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
การ Print out รายงานเก็บไว้ เพื่อสำรองข้อมูลการให้บริการที่บันทึกในคอมพิวเตอร์แล้ว เก็บไว้ตรวจสอบกรณีคอมพิวเตอร์เสีย ใช้การไม่ได้
การบันทึกข้อมูลการให้บริการ 1. รหัสวัคซีนที่ใช้ตรงตามรหัสมาตรฐานที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด 2. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดเป็นรายบุคคลในแฟ้ม EPI 3. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลการให้บริการให้ครบถ้วน ถูกต้อง 4. การบันทึกวันนัดรับวัคซีนครั้งต่อไป 5. การบันทึกเลื่อนนัดเพื่อรับวัคซีนครั้งต่อไป 6. เมื่อบันทึกข้อมูลผู้รับบริการวัคซีนแล้วให้ Print out รายงานเก็บไว้ 7. บันทึกรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับวัคซีนจากสถานบริการอื่น
บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง การบันทึกข้อมูลรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่จากการได้รับวัคซีนจากที่อื่น บันทึก “วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับวัคซีน” กำกับ ทุกครั้ง ที่นี่ ที่อื่น ครั้งหน้า
การบันทึกข้อมูลรายละเอียดผู้รับวัคซีนในพื้นที่จากการได้รับวัคซีนจากที่อื่น ที่นี่
วิธีการจัดทำทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีน กรณีจัดทำในสมุดหรือกระดาษ บันทึกรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเป็นรายหมู่บ้าน การเรียงลำดับรายชื่อ ในเด็ก เรียงลำดับตามเดือนเด็กเกิด ในหญิงมีครรภ์ เรียงตามวันครบกำหนดคลอด 3. บันทึก “ว/ด/ป ที่ได้รับวัคซีน” กำกับทุกครั้ง ไม่ว่าจะได้รับวัคซีนจากสถานบริการใด การจัดทำข้อมูลต้องเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
วิธีการจัดทำทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีน กรณีจัดทำในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผ่านฐานข้อมูลตามมาตรฐานของ สนย. จัดทำฐานข้อมูลเด็กอายุ 0-6 ปี และหญิงมีครรภ์ทุกคน ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบในแฟ้ม person บันทึกรายละเอียดข้อมูลการให้วัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคนที่มารับบริการตามข้อกำหนดของ สนย. ** บันทึกสถานที่รับวัคซีนให้ตรงกับความจริง Key in รับบริการจาก “ที่นี่” หรือ “ที่อื่น” 3. Print out รายงานการติดตามการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบเก็บไว้ การจัดทำข้อมูลต้องเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
ตอนที่ 3 การบริหารจัดการข้อมูล ตอนที่ 3 การบริหารจัดการข้อมูล ลำดับที่ รายการประเมิน คะแนนที่ได้ น้ำหนักคะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก หมายเหตุ 1. การบันทึกข้อมูลการให้บริการวัคซีนเป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามมาตรฐานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ดังต่อไปนี้ BCG ในเด็กแรกเกิด* 1 - บันทึก = 1 - ไม่บันทึก = 0 * ตรวจสอบเฉพาะสถานบริการที่ ทำคลอด และไม่คิดคะแนนสำหรับสถานบริการที่ไม่มีการคลอด ** ตรวจสอบเฉพาะสถานบริการที่ให้ dT ในหญิงมีครรภ์ HB ในเด็กแรกเกิด* DTP-HB, OPV, MMR, DTP , JE ในเด็กก่อนวัยเรียน MMR, dT, OPV, BCG ในเด็ก ป. 1 dT ในเด็ก ป. 6 dT ในหญิงมีครรภ์** 2. การบันทึกชนิดของวัคซีนที่ให้ ตามรหัสวัคซีน (ตัวเลข 3 หลัก) ที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ครบถ้วน ถูกต้องดังนี้ ----2.1รหัสวัคซีนโปรแกรม ที่บันทึกตามมาตรฐาน สนย. (HOSxP, HOSxP PCU ตรวจสอบทั้ง person_vaccine และใน 4กลุ่มย่อย) ----2.2 รหัสส่งออก 18/21/43 แฟ้ม โปรแกรมที่บันทึก คือ ---------------- 2 - ถูกต้อง ทั้ง 2 รายการ = 1 - ถูกต้อง เพียง 1 รายการ = 0.5 - ไม่ถูกต้องทั้ง 2 รายการ = 0 (ระบุชื่อวัคซีนที่ไม่ถูกต้อง.................... ..............................................................)
การ print out ทะเบียนการให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน 1 ลำดับที่ รายการประเมิน คะแนนที่ได้ น้ำหนักคะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก เกณฑ์ให้คะแนน 3. การตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องในการบันทึกข้อมูล (key in) การให้บริการวัคซีน (ในโรงพยาบาลสอบถามที่คลินิกวัคซีนเด็กก่อนวัยเรียน) 1 - ตรวจสอบ = 1 - ไม่ตรวจสอบ = 0 4. การ print out ทะเบียนการให้วัคซีนในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน 1 - มี print out รายงานและเก็บไว้เป็นหลักฐาน = 1 - สามารถ print out รายงานได้แต่ไม่ได้เก็บไว้เป็นหลักฐาน = 0.5 - ไม่สามารถ print out รายงานได้ = 0 5. การบันทึกข้อมูลผู้รับวัคซีนเป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ครบถ้วนถูกต้องตรงกับความเป็นจริง (สุ่มกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีทั้งในและนอกพื้นที่รับผิดชอบ จากแหล่งข้อมูลที่นำมา key in จำนวน 5 ราย แล้วตรวจสอบ การได้รับวัคซีนครั้งล่าสุดของเด็กแต่ละราย ว่าได้บันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์อย่างครบถ้วนถูกต้องหรือไม่) 2 - ครบถ้วนถูกต้องทุกราย = 1 - ไม่ครบถ้วน / ไม่ถูกต้อง = 0
6. 2 ลำดับที่ รายการประเมิน คะ แนนที่ได้ น้ำหนักคะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก เกณฑ์ให้คะแนน 6. การจัดทำทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายครบถ้วนถูกต้องและเป็นปัจจุบัน (ให้เจ้าหน้าที่เลือกทะเบียนติดตามที่จัดทำสมบูรณ์ที่สุด แล้วสุ่มเด็กที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ จากทะเบียนดังกล่าวจำแนกเป็น เด็กอายุครบ 1-2 ปี 2-3 ปี 3-4 ปี และ 5-6 ปี กลุ่มละ 3 คน รวม12 คน แล้วตรวจสอบเด็กแต่ละคนว่า ได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์กำหนดหรือไม่) 2 - มีบันทึกครบถ้วนตามเกณฑ์ จำนวน 9-12 ราย = 1 - มีบันทึกครบถ้วนตามเกณฑ์ จำนวน 5 - 8 ราย = 0.5 - มีบันทึกครบถ้วนตามเกณฑ์ น้อยกว่า 5 ราย = 0 (กลุ่มอายุครบ 1-2 ปี นับจากวัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่...........เดือน................พ.ศ.............. กลุ่มอายุครบ 2-3 ปี นับจากวัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่...........เดือน................พ.ศ.............. กลุ่มอายุครบ 3-4 ปี นับจากวัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่...........เดือน................พ.ศ.............. (กลุ่มอายุครบ 5-6 ปี นับจากวัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ตรวจสอบเด็กที่เกิด วันที่...........เดือน................พ.ศ..............ถึงวันที่...........เดือน................พ.ศ..............)
ช่วงระยะเวลาเด็กเกิด ประวัติการได้รับวัคซีน ลงประเมิน EPI วันที่ 20 เม.ย. 58 อายุที่ประเมิน ช่วงระยะเวลาเด็กเกิด เด็กอายุครบ 1 - 2 ปี เด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 20 เม.ย. 56 – 19 เม.ย. 57 เด็กอายุครบ 2 - 3 ปี เด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 20 เม.ย. 55 – 19 เม.ย. 56 เด็กอายุครบ 3 - 4 ปี เด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 20 เม.ย. 54 – 19 เม.ย. 55 เด็กอายุครบ 5 - 6 ปี เด็กที่เกิดระหว่างวันที่ 20 เม.ย. 52 – 19 เม.ย. 53 ประวัติการได้รับวัคซีน ในทะเบียนติดตาม ได้รับวัคซีน BCG, HB1, … จนถึง MMR ได้รับวัคซีน BCG, HB1, … จนถึง LAJE1 และ DTP4, OPV4 ได้รับวัคซีน BCG, HB1, … จนถึง LAJE2 ได้รับวัคซีน BCG, HB1, … จนถึง DTP5 และ OPV5
ฝ่ายเวชกรรมสังคมหรือเวชปฏิบัติชุมชน และ รพ.สต. กิจกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์ หัวข้อการประเมิน ร้อยละ กิจกรรมที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ด้านการบริหารจัดการข้อมูล 77.7 / 81.6 ความรู้ 6 กิจกรรมหลัก ปฏิบัติ 11 กิจกรรมย่อย มีการตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องหลังบันทึกข้อมูล มีการตรวจสอบทะเบียนให้บริการกลุ่ม <5 ปี และ Print out เป็นหลักฐาน บันทึกทะเบียนติดตามการได้รับวัคซีน ครบชุดครบถ้วนเป็นปัจจุบัน มีการตรวจสอบบันทึกผู้รับวัคซีนDTP-HB ถูกต้อง มีการบันทึกรายงานในกลุ่มนักเรียน ป.1, ป.6 รหัสวัคซีนถูกต้องตามมาตรฐาน สนย. การบันทึกข้อมูลการได้รับวัคซีน BCG การบันทึกข้อมูลการได้รับวัคซีน HB 36.1/38.8 40.3/34.7 54.1/56.3 59.7/77.7 61.7/59.7 66.7/86.1 68.6/___ 74.3/___ ร้อยละ 80 ขึ้นไปถือว่า ผ่านเกณฑ์
สรุปภาพรวมการบันทึกข้อมูล EPI ควรมีการตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องหลังบันทึกข้อมูล ควรมีการ Print out การ key in จากคอมพิวเตอร์เก็บไว้เป็นหลักฐาน จัดทำทะเบียนติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายให้มีความเป็นปัจจุบัน ติดตามประวัติการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมายแต่ละรายนำมาบันทึกให้ครบถ้วน โรงพยาบาลควรมีการบันทึกข้อมูลการได้รับวัคซีน BCG และ HB โรงพยาบาล/รพสต. ควรบันทึกข้อมูลการได้รับวัคซีนของเด็กในพื้นที่รับผิดชอบไม่ว่าจะได้รับวัคซีนจากสถานบริการใด
ขอบคุณครับ