ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
Thailand fruit paradise
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
ปฐพีศาสตร์ สาขาวิชา.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
( Organization Behaviors )
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ประกอบด้วย 4 วิทยาเขต
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การปลูกพืชผักสวนครัว
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
งบประมาณและเป้าหมายการปฏิบัติงาน โครงการภายใต้แผนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2553 นายวิรัตน์ เพียรวิทยา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ส่วนฐานข้อมูลสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (GIS) การศึกษาความเป็นไปได้ของการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์เพื่อเป็นอาชีพ ทางเลือกที่มีศักยภาพในภาคอีสานตอนล่าง ผศ. สุรจิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation in the Northeast Thailand: UbonRajathani Case Study) แหล่งทุนสนับสนุน วช. ผ่านงานส่งเสริมการวิจัยฯ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี 2549 ประเภทโครงการวิจัย งานวิจัยประยุกต์ สาขาวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ และเกษตรศาสตร์ หน่วยงานดำเนินงาน คณะเกษตรศาสตร์ และบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่ปรึกษาโครงการ รศ. ดร. วัชรพงษ์ วัฒนกูล คณบดี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รศ. ดร. วรพงษ์ สุริยภัทร ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นายประพจน์ ราชนิยม ผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดอุบลราชธานี หัวหน้าโครงการ ผศ. สุรจิต ภูภักดิ์ ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้ร่วมโครงการวิจัย รศ.ดร.สุวัฒน์ ธีรพงษ์ธนากร ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นางสาวอรุณรัตน์ เศวตธรรม คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นายอนุชิต สิงห์คำ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นักวิจัยผู้ช่วย นางสาวพัชราภรณ์ อนุไพร นักวิชาการเกษตร นางสาวกมลพร เบ้าคำ นักวิชาการเกษตร วัตถุประสงค์ รวบรวมและพัฒนาฐานข้อมูลทรัพยากรที่เกี่ยวข้องในการผลิตและการตลาดยางพารา ศึกษาระบบการผลิตและผลตอบแทน จากการผลิตยางของเกษตรกรที่มีปัจจัยการผลิตและสิ่งแวดล้อมในการผลิตแตกต่างกัน พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในระดับฟาร์มและระดับวางแผน เพื่อเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลประกอบการตัดสินในในการผลิตยางพารา วิเคราะห์เงื่อนไขการผลิตที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพารา ตลอดจนเงื่อนไขด้านการตลาด เพื่อเป็นแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร วิเคราะห์ความเสี่ยงจากปัจจัยเรื่องฝนที่มีต่อผลผลิตและคุณภาพน้ำยาง ตลอดจนปัจจัยในเรื่องราคาที่มีผลต่อรายได้ของเกษตรกร วิเคราะห์แนวทางการผลิตยางพาราในระบบฟาร์มผสมผสาน ตามหลักเกษตรกรรมแบบพอเพียง ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตและการตลาดยางพาราแก่เกษตรกรและผู้สนใจในการปลูกยางพารา โครงร่างงานวิจัย ฐานข้อมูล GIS ศึกษาระบบการผลิตและการตลาดยางพารา ข้อมูลกายภาพชีวภาพของพื้นที่ ข้อมูลทางวิชาการการปลูกยางพารา แบบจำลองวิเคราะห์การลงทุนปลูกยางพารา(Spreadsheet model) แบบจำลองวิเคราะห์การเจริญเติบโตยางพารา(Simulation model) Open sources GIS Web-based & RDBMS ข้อมูลเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร สารสนเทศประกอบการตัดสินใจในการปลูกยางพารา การวิเคราะห์ความเสี่ยง งานวิจัยและพัฒนาภายใต้ชุดโครงการ ปี 2549 การพัฒนาฐานข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการผลิตยางพาราโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การทำ Zoning เพื่อสนับสนุนการการตัดสินในการส่งเสริมการปลูกยางพาราใน จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความการเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพาราในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี การวิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ในการปลูกยางพาราในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี การวิเคราะห์การเจริญเติบโตของยางพาราที่ปลูกในสภาพแวดล้อมต่างกันในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาระบบตลาดยางพารา พัฒนาระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS) ผ่านอินเตอร์เนท ในลักษณะ GIS web based โดยใช้โอเพนซอร์ด การพัฒนาฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ผู้ปลูก ปัจจัยการผลิตและการตลาดยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี แผนงานปี 2550 การใช้ภาพถ่ายดาวเทียมศึกษาพื้นที่ปลูกยางพาราในจังหวัดอุบลราชธานี แบบจำลองเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในระดับฟาร์มเกษตรกร การศึกษาแนวทางการใช้แบบจำลองการเจริญเติบโตของพืช (Crop Simulation Model) ในการวิเคราะห์ผลผลิตยางพารา การวิเคราะห์ความเสี่ยงในการปลูกยางพารา การวิเคราะห์ระบบฟาร์มผสมผสานทั้งระบบตามแบบเกษตรพอเพียงที่มียางพาราเป็นกิจกรรมในระบบ งบประมาณปี 2549 538,100 บาท