งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสงคราม

2 กลไก กรอบแนวคิดการดำเนินงานพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
วิเคราะห์แหล่งน้ำ ลุ่มน้ำ การใช้น้ำ GIS ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ของจังหวัด สชป.13 ชป.จ. 1.พัฒนาระบบ ข้อมูลพื้นที่ Information internet แผนการจัดการน้ำเชิงบูรณาการ วิศวะ มก. 2.กลไก จนท.ชป. กก.ลุ่มน้ำ หน่วยงานจังหวัด กลไก การเรียนรู้ ง่ายงาม Node maeklong ท้ายหาด บางพรม ท่าคา แพรกหนามแดง กระดังงา ดอนมะโนรา กรอบแนวคิดการดำเนินงานพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม 3.การแก้ปัญหาของพื้นที่

3 พื้นที่นำร่องในจังหวัดสมุทรสงคราม

4

5 ความต้องการน้ำของจังหวัดสมุทรสงครามแยกเป็นรายตำบล
อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม

6 ประเด็นยุทธศาสตร์น้ำจังหวัดสมุทรสงคราม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรน้ำอย่างสมดุล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและคุณภาพน้ำ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและบรรเทาพิบัติภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำ

7 การดำเนินงานจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัดสมุทรสงคราม

8 หน่วยงานที่เข้าร่วม

9 การจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรน้ำ จังหวัดสมุทรสงคราม

10 การดำเนินงานจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำระดับตำบลจังหวัดสมุทรสงคราม

11

12 เวทีเตรียมการจังหวัดสมุทรสงคราม

13 เวทีระดับตำบล

14 เวทีเตรียมการครั้งที่ 6 การประมวลแผนจัดการน้ำระดับจังหวัดและตำบล

15 การนำเสนอโครงการวิจัยต่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม

16 ตัวอย่าง SWOT ด้านน้ำของ ต.ท้ายหาด

17 ตัวอย่างโครงการด้านน้ำของตำบลท้ายหาด
การศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ชาวบ้านในตำบลท้ายหาดได้รับผลกระทบจากน้ำที่ขึ้นสูง โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ คำถามวิจัย "สาเหตุ และปัจจัยอะไรบ้าง ที่ทำให้ชาวบ้านในตำบลท้ายหาด ได้รับผลกระทบเรื่องน้ำท่วมสูง"

18 อบรมการใช้เครื่องมือ GPS

19 ลงพื้นที่สำรวจและจับพิกัด GPS

20 ตำแหน่งท่อลอดใน ต.ท้ายหาด

21 ผลการดำเนินงาน ระดับชุมชน
ชุมชนมีความเข้าใจเป้าหมายและการดำเนินงานโครงการตลอดจนสนใจเข้าร่วมโครงการตลอดจนเกิดความกระตือรือร้นในการจัดการน้ำของชุมชน แกนนำชุมชนมีความมุ่งมั่นตั้งใจและเห็นความสำคัญมีบทบาทสำคัญในการดำเนินงาน โครงการ ชุมชนตำบลแพรกหนามแดง ชุมชนบางพรม และชุมชนตำบลกระดังงา ผู้นำชุมชนมีบทบาทสำคัญในการดำเนินงาน ชุมชนใช้ฐานข้อมูลเบื้องต้นในการตัดสินใจพัฒนาพื้นที่ ได้แก่ตำบลท้ายหาด ตำบลแพรกหนามแดง แกนนำชุมชนเกิดการพัฒนาทักษะการจัดการข้อมูลอย่างมีส่วนร่วม

22 ผลการดำเนินงาน ระดับหน่วยงานส่วนท้องถิ่น
ผู้บริหารท้องถิ่นให้ความสำคัญกับโครงการ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าคา (รองนายก อบต.) องค์การบริหารส่วนตำบลดอนมะโนรา(นายกและรองนายก อบต.)และองค์การบริหารส่วนตำบลท้ายหาด (รองนายก อบต.) เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ชุมชนตำบลท่าคา,ชุมชนกระดังงา เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านสารสนเทศระหว่างเจ้าหน้าที่ อปท.กับทีมวิจัย การบูรณาการความร่วมมือ ระหว่างชุมชน ผู้นำท้องที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ตำบลท่าคา ตำบลท้ายหาดและตำบลบางพรม

23 การขับเคลื่อนแผนน้ำระดับชุมชน
ชุมชนแพรกหนามแดงเกิดแผนการจัดการลำคลองอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลท้ายหาดใช้ข้อมูลจากงานวิจัยผลักดันแผนการการขุดลอกคูคลองเพื่อพัฒนาระบบการไหลเวียนของน้ำในพื้นที่ เกิดกระบวนการขับเคลื่อนการจัดการพื้นที่ที่เอื้อต่อระบบการไหลเวียนของน้ำ เช่น มาตรการจัดการกรณีบุกรุกลำน้ำสาธารณะของ อบต.ท้ายหาด การผลักดันแผนการพัฒนาตำบล ระดับหน่วยงาน เกิดการบูรณาการภารกิจด้านน้ำของแต่ละหน่วยงานเข้าด้วยกัน และช่วยให้หน่วยงานได้ทราบบทบาทของหน่วยงานตนเองได้ชัดเจนมากขึ้น

24 มีปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ
การลงพื้นที่เพื่อเรียนรู้ข้อมูลสภาพพื้นที่และสถานการณ์น้ำในระดับชุมชน อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ส่งผลต่อความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของแกนนำระดับชุมชน การให้ความสำคัญกับกิจกรรมสร้างความเข้าใจ ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักที่สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชักชวนผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชุมชน และระดับจังหวัดเข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์ศักยภาพของชุมชน ทำให้ชุมชนเรียนรู้ข้อมูลตนเอง การมีส่วนร่วมกำหนดโจทย์วิจัย จะต้องเป็นการเรียนระหว่างผู้เกี่ยวข้องในระดับโครงการ ตั้งแต่การเรียนรู้สภาพพื้นที่ วิเคราะห์ปัญหา กำหนดประเด็นศึกษาและพัฒนาเป็นโจทย์การวิจัยที่ผ่านการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องพื้นที่ การทดลองเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เบื้องต้น โดยการเรียนรู้การใช้ GPS สร้างชุดข้อมูลทำให้ชุมชนและหน่วยงานเห็นประโยชน์ของข้อมูลและกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง


ดาวน์โหลด ppt โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google