ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
ระบบHomeward& Rehabilation center
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมสัญจร.
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
โดย นพ.อุทิศศักดิ์ หริรัตนกุล
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
Pass:
สาขาโรคมะเร็ง.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP
งานยาเสพติด.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่
สถานการณ์ / สภาพปัญหา / มาตรการ ดำเนินการ o เป้าหมาย 11 อำเภอ o 3 กลุ่มเป้าหมาย o 1. ผู้สูงอายุติดเตียง 994 คน o 2. ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 656.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60

ร้อยละของเด็ก 18,30 เดือน ได้รับการ ตรวจพัฒนาการร้อยละ 100

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการ สมวัย ≥ 85

ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กผ่านประเมิน มาตรฐานมีคุณภาพ มากกว่าหรือเท่ากับ 60

อัตรามารดาตาย ( ไม่เกิน 15 ต่อการ เกิดมีชีพต่อแสน ) อำเภอเป้าหมายผลงาน 3 เดือนอัตรา (01) เมืองพัทลุง (02) กงหรา (03) เขาชัยสน (04) ตะโหมด (05) ควนขนุน (06) ปากพะยูน (07) ศรีบรรพต (08) ป่าบอน (09) บางแก้ว (10) ป่าพะยอม (11) ศรีนครินทร์ รวม

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 12 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับ 60

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝาก ครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ 60

ร้อยละของหญิงตั้งที่มีภาวะซีดซ้ำในการ ตรวจเลือดครั้งที่ ๒ ( ไม่เกิน ร้อยละ ๕๐ )

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ o โครงการขับเคลื่อนตำบลนมแม่แบบองค์รวม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ ตำบลนมแม่ ๑ ตำบล / ๑ อำเภอ ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบงานจาก สสอ./ รพช./ รพ. สต. เป้าหมาย / อสม./ อปท อำเภอละ ๑๐ คน ในวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมชัยคณาธานี 10

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ ( ต่อ ) o โครงการพัฒนาระบบบริการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการ ให้คำปรึกษาฯ ประกอบด้วยมิสนมแม่ จาก สสอ./ รพช./ รพ. สต. เป้าหมาย อำเภอละ ๕ คน ในวันที่ ๑๙ - ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมชัยคณาธานี 11

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ ( ต่อ ) o จัดประชุมการดำเนินงาน / การประเมิน ANC คุณภาพ และ WCC คุณภาพ ในวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ กลุ่มเป้าหมาย สสอ./ รพช./ รพ. สต จำนวน ๓๓ คน o จัดประชุมการดูแล / การทำคลอดภาวะติดไหล่ / คลอด ยาก และการดูแลการตกเลือดหลังคลอด วันที่ ๑๔ - ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ โดย โรงพยาบาลพัทลุง กลุ่มเป้าหมายผู้รับผิดชอบงานห้องคลอด โรงพยาบาล ทุกแห่ง 12

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ ( ต่อ ) o การประชุมคณะกรรมการ MCH Board ระดับจังหวัด ใน วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ - สรุปสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก - วิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่ - กำหนดแนวทางในการดำเนินงานฯ ในปี ๒๕๕๘ o กำหนดแนวทางในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง มีระบบการส่งต่อ / เชื่อมโยงข้อมูล ทุกระดับตั้งแต่ รพ. สต./ รพช./ รพท. o กำหนดแนวทางการดูแลเด็กกลุ่มเสี่ยง ( เด็กคลอดก่อน กำหนด / เด็กทารกน้ำหนักน้อย / เด็กที่มีภาวะขาด ออกซิเจน / เด็กที่มีมารดามีโรคประจำตัว ) และมีระบบ การส่งต่อ / เชื่อมโยง ทุกระดับตั้งแต่ รพ. สต./ รพช./ รพท. o ประชุม Conference Case มารดาตาย ในวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ รพ. พัทลุง 13

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ ( ต่อ ) o จัดอบรมการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กโดย อนามัย ๕๕ / การใช้เครื่องมือ TDSI/ และ DSI ในวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๗ กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาการเด็กปฐมวัย จาก รพช./ รพ. สต. ทุกแห่ง o ประชุมติดตามงาน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับผิดชอบงานฯ ในคลินิกสุขภาพเด็กดี และจากศูนย์เด็กเล็ก / สสอ. ครั้ง ที่ ๑ วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๗ o ครั้งที่ ๒ วันที่ ๒๖ มกรามคม ๒๕๕๘ o จัดประชุมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพนัก ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย แก่บุคลากรผู้รับผิดชอบ งานพัฒนาการเด็ก ทุกโรงพยาบาลและ PCU โรงพยาบาล เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ o 14

การดำเนินงานแก้ปัญหากลุ่มสตรีและ เด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ ( ต่อ ) o กำหนดแผนการประเมิน / ติดตามหน้างานฯ ใน คลินิก ANC/ ห้องคลอด /WCC / ศูนย์เด็กเล็ก / ตำบลนมแม่ ฯ ในไตรมาสที่ ๓ ( เดือน เม. ย – มิ. ย ๒๕๕๘ ) o กำหนดการประเมินโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์งานอนามัยแม่ และเด็ก ซ้ำ ( ครบ ๓ ปี ) โรงพยาบาลป่าบอน และโรงพยาบาลป่าพะยอม เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๘ ( โดยทีมประเมิน จากศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา ) 15