งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
โรงพยาบาลนาวังเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดหนองบัวลำภู นางวราภรณ์ ชาสังข์

2 สถานบริการ/เขตรับผิดชอบ
ประเด็นปัญหา ผลการดำเนินงาน งานอนามัยแม่และเด็ก ในปีงบประมาณ 2552 จังหวัดหนองบัวลำภู อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ภาพรวมได้ร้อยละ 7.84 และในพื้นที่ 6 อำเภอ อำเภอนาวัง มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยที่สูงที่สุด ได้ร้อยละ 9.79 ดังตาราง สถานบริการ/เขตรับผิดชอบ เกณฑ์ ผลงาน อ.เมืองหนองบัวลำภู <ร้อยละ 7 8.96 อ.ศรีบุญเรือง 7.05 อ.นากลาง 4.50 อ.สุวรรณคูหา 7.43 อ.โนนสัง 3.81 อ.นาวัง 9.79 รวมผลงาน 7.84

3 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์รอง
1. เพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่ และให้ตัวชี้วัดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500ผ่านเกณฑ์ 2. เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ครบรอบ84พรรษา วัตถุประสงค์รอง 1. มารดาและทารกมีความปลอดภัย 2. พัฒนาระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้มาตรฐาน 3. สร้างความตระหนักให้หญิงตั้งครรภ์และชุมชนให้เห็นความสำคัญของ ปัญหาทารกน้ำหนักตัวน้อย

4 กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน
1. ประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กทุก 3เดือน 2. จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานอนามัยแม่และเด็ก 3. อบรมจิตอาสาอนามัยแม่และเด็ก 4. จัดทำ Spot วิทยุและป้าย ประชาสัมพันธ์ รณรงค์

5 กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน
5. เพิ่มช่องทางในการให้คำปรึกษากันหญิงตั้งครรภ์ 6. จัดทำปฏิทินการตั้งครรภ์ 7. มอบรางวัลให้ อสม.ที่ชักชวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็วก่อน 12สัปดาห์

6 กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน
8. จัดการอบรมเข้าค่ายเรียนรู้ทักษะการใช้ชีวิต (โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ)ให้กับเยาวชนในโรงเรียนนำร่อง 9. มอบชุดของขวัญให้กับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ที่คลอดบุตรที่ทารกน้ำหนักมากกว่า2500กรัม 10. จัดระบบการประสานงานและส่งต่อในเครือข่าย กรณีครรภ์เสี่ยงที่ชัดเจน

7 กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน
11. ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 12. สรุปผลการดำเนินงานอนามัยแม่ละเด็กประจำปี และคืนข้อมูลแก่ทีมงานอนามัยแม่และเด็ก

8 ผลการดำเนินงาน ข้อมูล มารดาและทารก เป้าหมาย (ร้อยละ)
ผลงาน ปี2552 (ร้อยละ) ผลงาน ปี2553 (ร้อยละ) ผลงาน ปี2554 (ร้อยละ) 1. อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12wks 2. ฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ 3. ทารกขาดออกซิเจนระหว่างคลอด 4. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500gm 5. ทารกอายุ2วันขึ้นไปมีผลTSHผิดปกติ 6. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว เดือน >50 ≥90 <30/พัน LB <7 <20 >30 60.24 78.32 27.97 9.79 27.13 36.75 68.46 88.46 23.07 6.92 17.11 47.50 63.89 85.18 9.27 5.55 3.70 50.37

9

10 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ผู้นำให้ความสำคัญต่อการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย และมีความสามารถในการประสานงาน รวมทั้งเป็นขวัญกำลังใจที่ดี และให้การสนับสนุนแก่ทีมงาน/ผู้ร่วมงาน เป็นอย่างดี ทีมงานอนามัยแม่และเด็ก มีความมุ่งมั่น เสียสละ ชุมชน ท้องถิ่น และเครือข่ายสาธารณสุข ทุกระดับ เห็นความสำคัญของการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก และมีความตั้งใจที่จะพัฒนาสุขภาพชีวิตของแม่และเด็ก

11 ปัญหาและอุปสรรค 1. หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ฝากครรภ์ที่อื่น แล้วกลับมาคลอดที่บ้านยากต่อการติดตาม 2. หญิงตั้งครรภ์ที่อายุน้อย/วัยรุ่น มักไม่ใส่ใจและขาดความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ 3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดทารกน้ำหนักตัวน้อยได้รับการแก้ไขหรือพบแพทย์ล่าช้า 4. บุคลกรมีน้อย เปลี่ยนผู้รับผิดชอบบ่อย ขาดความรู้และทักษะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์

12

13 ข้อเสนอแนะ - ต่อบุคลากร
1. บุคลากรควรเฝ้าระวัง ดูแลและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน และ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์โดยการสร้างความตระหนักให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีส่วนร่วมของหญิงตั้งครรภ์ในทุกกิจกรรม 2.บุคลากรควรส่งเสริมภาวะสุขภาพของผู้หญิงตั้งแต่เยาว์วัยให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์

14 ข้อเสนอแนะ - ต่อประชาชน
1. ควรให้ความสำคัญ ร่วมมือและสนับสนุน กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์ 2.ควรตระหนักถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวมเมื่อทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม

15 ข้อเสนอแนะ - ต่อหน่วยงานภาครัฐ
ควรให้ความร่วมมือและสนับสนุนจัดกิจกรรม โครงการที่เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์/วัยเจริญพันธุ์มากขึ้น

16 จบแล้วจ้า...


ดาวน์โหลด ppt สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google