งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การดำเนินงาน คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ

2 มีภาวะเสี่ยงแม่และลูก* นัดติดตามที่คลินิกสุขภาพเด็กดี
การให้บริการ การประเมินภาวะเสี่ยง และการนัดติดตามในทารกแรกเกิด-อายุ 7 วัน ทารกแรกเกิด -7 วัน - ซักประวัติ - ตรวจร่างกายและชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง,วัดรอบศีรษะ,วัดรอบอก - รับวัคซีน ,ให้คำแนะนำและสังเกตอาการนาน 30 นาที - ประเมินภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ● โรงเรียนพ่อแม่ 1. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. แนะนำการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. พัฒนาการตามวัย การเล่นและการส่งเสริมพัฒนาการ 4. อุบัติเหตุตามวัย 5. ภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ตรวจคัดกรอง TSH** มีภาวะเสี่ยงแม่และลูก* ตรวจเพิ่มเติมตามข้อบ่งชี้ที่มีภาวะเสี่ยง นัดติดตามที่ High Risk clinic หรือ คลินิกนมแม่ หรือคลินิกสุขภาพเด็กดี เมื่ออายุ 1 เดือน นัดติดตามที่คลินิกสุขภาพเด็กดี เมื่ออายุ 2 เดือน กลับบ้าน

3 การให้บริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ซักประวัติ ประเมินการเจริญเติบโตโดยผู้ปกครอง (วัดชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง วัดรอบ ศีรษะ ลงบันทึกการ เจริญเติบโต แนะนำ) วัดความดันโลหิต (อายุ 4 ปี) ประเมินพัฒนาการ พฤติกรรม ประเมินคัดกรองโรคออทิซึม(กรณีสงสัย) แนะนำการส่งเสริมพัฒนาการ กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ให้คำแนะนำล่วงหน้า 1.โภชนาการและอาหารตามวัย/นมแม่ 2. พัฒนาการตามวัย การเล่นและการส่งเสริมพัฒนาการ 3. อุบัติเหตุตามวัย ปกติ ผิดปกติ กระตุ้นและนัด 1 เดือน ประเมินซ้ำ 1. ตรวจร่างกายทุกระบบ ตรวจการได้ยิน 2. ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน : เด็กอายุ 6เดือน,9-12 เดือน, 1 ปีครึ่ง,2 ปี,3ปี,4 ปี 3. ตรวจตา :อายุ 6 เดือน, 4ปี 4. Hb/Hct/CBC :อายุ 6-12 เดือน 5. UA : อายุ 4 ปี 6. จ่ายยาเสริมธาตุเหล็ก :อายุ 6 เดือน – 5 ปี ส่งล่าช้า แนะนำ นัดคลินิกกระตุ้น นัดคลินิกนมแม่** พบแพทย์/พยาบาล ส่งต่อกรณีผิดปกติ รับวัคซีน ให้คำแนะนำ สังเกตอาการนาน 30 นาที นัดหมายครั้งต่อไป กลับบ้าน

4 กรอบแนวคิดการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด -5 ปี
เครื่องมือการดำเนินงาน แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (กรมอนามัย) หน่วยงาน/ผู้ให้บริการ หน่วยบริการสาธารณสุข (รพ.สต.) ทั่วประเทศ คัดกรองพัฒนาการเด็ก วัยแรกเกิด - 5 ปี สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) 2ก 2ล (กรมอนามัยและ กรมสุขภาพจิต พัฒนาการ สมวัยหรือไม่ สมวัย ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย พยาบาลใน รพ.สต. ไม่สมวัย - พยาบาลใน รพ.สต. - ผู้ปกครอง ประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้า ระยะเวลา 1 เดือน คู่มือประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้าเด็ก แรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI: 70 ข้อ) กรมสุขภาพจิต คู่มือกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับ ผู้ปกครอบ(TDSI : 70 ข้อ)กรมสุขภาพจิต

5 แบบประเมินและป้องกันพัฒนาการล่าช้า
เด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (TDSI : 70 ข้อ)กรมสุขภาพจิต พยาบาลใน รพ.สต. ประเมินพัฒนาการล่าช้า สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) 2ก 2ล (กรมอนามัยและ กรมสุขภาพจิต พัฒนาการ ดีขึ้นหรือไม่ ดีขึ้น พยาบาลใน รพ.สต. ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ.ทั่วประเทศ) พยาบาลใน รพช. กุมารแพทย์ (ถ้ามี) ไม่ดีขึ้น ประเมินและแก้ไขพัฒนาการ ระยะเวลา 3 เดือน และ/หรือวินิจฉัยเพิ่มเติม/อื่นๆ คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI : 300 ข้อ) กรมสุขภาพจิต

6 -ตรวจวินิจฉัย/แบบประเมินและแก้ไข ปัญหาเพิ่มเติมตามปัญหาที่ส่งต่อ
พัฒนาการ ดีขึ้นหรือไม่ พยาบาลใน รพช. ดีขึ้น ส่งกลับ รพ.สต.ดูแล ต่อเนื่อง -ตรวจวินิจฉัย/แบบประเมินและแก้ไข ปัญหาเพิ่มเติมตามปัญหาที่ส่งต่อ CPG รายโรค คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข(DSI :300 ข้อ) (กรมสุขภาพจิต) หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ/รพท. ทั่วประเทศ) กุมารแพทย์ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (ถ้ามี) ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) วินิจฉัยประเมินและแก้ไขพัฒนาการ และ/ หรือให้การรักษาเพิ่มเติม ดีขึ้นหรือไม่ ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น หน่วยบริการสาธารณสุข (รพจ. สังกัดกรมสุขภาพจิต) -จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) แบบประเมินและแก้ไขปัญหาของแต่ละวิชาชีพ CPG รายโรค คู่มือประเมินและแก้ไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (DSI : 643 ข้อ) (กรมสุขภาพจิต) ตรวจวินิจฉัยและ ให้การรักษาเพิ่มเติม (เฉพาะทาง)


ดาวน์โหลด ppt คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google