งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (๖-๑๒ ปี )มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า ๗๐ )

3 การดูแลกลุ่มเด็กอ้วน ใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 6-12 ปี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน ≥ ร้อยละ 70 89.86 พัฒนาตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ภาวะโภชนาการ , การตรวจสุขภาพด้วนตนเอง ข้อเสนอ การดูแลกลุ่มเด็กอ้วน ใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 6-12 ปี โอกาสพัฒนา

4 มีต้นแบบอำเภออนามัย การเจริญพันธุ์ (เกษตรวิสัย)
แผนงานส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ดำเนินการคลินิกวัยรุ่น ทุกแห่ง 17 รพ. YFHS ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 30 % 1 แห่ง มีต้นแบบอำเภออนามัย การเจริญพันธุ์ (เกษตรวิสัย) จุดเด่น

5 อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชาย ระดับมัธยมศึกษา
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลจากการสำรวจปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ๔๙ ๔๔ ๘๙.๗๙ จากการสำรวจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน ๓๒๙ คน

6 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคทุกกลุ่มวัย
กลุ่มเด็ก สตรี กลุ่มเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน

7 จังหวัดร้อยเอ็ดมีกระบวนการจัดระบบบริหารจัดการEPI
พัฒนาศักยภาพ ผู้รับผิดชอบงานEPI ระดับอำเภอ ตำบล ให้รับรู้และ มีแนวทางการปฏิบัติงานEPI การบริหารจัดการวัคซีนได้อย่างมีคุณภาพ การให้บริการวัคซีนที่ถูกต้อง การจัดการกับข้อมูล ทบทวน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ วิเคราะห์ข้อมูลรายอำเภอ

8 ความก้าวหน้าของจังหวัดร้อยเอ็ดต่อ ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศรอบที่ ๑/๒๕๕๖
ในประเด็นของการบริหารจัดการข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ผู้รับผิดชอบงาน EPI ของ สสจ.เริ่มนำข้อมูลในสถานบริการระดับอำเภอมาวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อวางแผนพัฒนางาน จัดระบบการติดตามข้อมูลความครอบคลุม EPI ได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

9 ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๑ ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ไม่น้อยกว่า ๙๕ ๗,๓๕๓ ๗,๒๙๒ ๙๙.๑๗ ร้อยละของเด็ก ๐- ๒ ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ BCG DPT-HB3 OPV3 DPT3 DPT4 OPV4 ๘,๙๑๔ ๘,๗๒๘ ๙๗.๙๑ JE2 ๘,๕๙๕ ๙๖.๔๒

10 ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๓-๕ ปี ที่ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ JE 3 (ร้อยละของเด็กอายุ ๓ ปี ) ๑๐,๗๗๐ ๑๐,๕๔๓ ๙๗.๘๙ OPV5 ๑๒,๑๘๑ ๑๑,๙๓๗ ๙๘.๐๐ DPT5

11 ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๖- ๑๒ ปี ได้รับวัคซีนกระตุ้นทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ MMR 2 (นักเรียนชั้น ป.๑) ๑๑,๗๑๑ ๑๐,๕๔๙ ๙๐.๐๘ dT ๑๓,๐๘๙ ๑๑,๙๗๐ ๙๑.๔๕ ร้อยละของประชาชนเป้าหมายได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นครบตามเกณฑ์ มากกว่า ๙๐ ๕๗,๗๘๘ กำลังดำเนินการ

12 จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของเด็กประถม 1 การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ≥ ร้อยละ 85 90.36 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ≥ ร้อยละ 30 43.92 * เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากรอบที่ 1 การทำงานร่วมกับฝ่ายการศึกษา พัฒนาครูในการตรวจเฝ้าระวังในโรงเรียน พัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา

13 ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่นฯลฯ เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการได้17 แห่ง จากเป้าหมาย 17แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 เชิงปริมาณ มีการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการใช้ครอบครัวอบอุ่นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาเด็กและวัยรุ่นจากการมีส่วนร่วมเครือข่าย อปท. จำนวน10 อำเภอ เป็นพื้นที่ 1ใน 6 ของประเทศ ที่มีโครงการนำร่องนักจิตวิทยาโรงเรียน ส่งผลให้การดำเนินงานชัดเจน เชิงคุณภาพ ขยาย ต้นแบบไปทุกอำเภอ โอกาสในการพัฒนา

14 การเยี่ยมชมให้กำลังใจ

15

16 ขั้นที่ 1 การเตรียมทีมงาน


ดาวน์โหลด ppt การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google