การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
Advertisements

Getting Started with e-Learning
ชมรมครูคณิตศาสตร์อาชีวศึกษา วันที่ 2-5 เมษายน 2557
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เทคโนโลยีเพื่อการจัดการ ความรู้ : กรณีศึกษา ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร.
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
สถาบันพระบรมราชชนกและวิทยาลัยในสังกัด ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ ณ โรงเรมชลอินเตอร์
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
LOGO IT เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ Public Relation 2.0 (PR 2.0) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
นายสันติ วิจักขณาลัญฉ์ นายไพโรจน์ เติมเตชาติพงศ์
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
การพัฒนาระบบบริหารสถานศึกษาอัจฉริยะเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่าน คลาวด์คอมพิวติงสำหรับสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน NEC 2013 ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
X. แผนปฏิบัติการภาควิชา ฟิสิกส์ แผน 9 ( ) ปี พ. ศ ( ต่อเนื่องจากปี 2545) ดูรายละเอียด.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ Development of Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning to Enhance Research Competence and Critical Thinking Skills in ICT ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2

Jonathan Bergmann & Aaron Sams. (2010). The flipped classroom.

21st Century Student Outcomes & Support Systems The Partnership for 21st Century Skills http://www.p21.org

กรอบแนวคิดการวิจัย การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม (Multicultural Education) การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) และ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เครือข่ายสังคม (Social Media) คลาวด์เลิร์นนิง (Cloud Learning) การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อศึกษาผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบสนับสนุน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ที่มีต่อสมรรถนะการวิจัย เพื่อศึกษาผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบสนับสนุน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ที่มีต่อทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสนสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ ๑๖คน เลือกแบบเจาะจง โดยเป็นนักศึกษาที่สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติแล้ว

ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคม และคลาวด์เลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ ตัวแปรตาม สมรรถนะการวิจัย ทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ

สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงมีผลการประเมินสมรรถนะ การวิจัยอยู่ในระดับดี นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงมีผลการประเมิน ทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ อยู่ในระดับดี

วิธีดำเนินการวิจัย

วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ สมรรถนะการวิจัย การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ ออกแบบและพัฒนาระบบ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายสังคม คลาวด์เลิร์นนิง พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ การพัฒนาระบบ เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การสร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction) การปรับเปลี่ยน (Conversion) การบำรุงรักษา (Maintenance) พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาเครื่องมือศึกษาผลการวิจัย แบบประเมินสมรรถนะการวิจัย แบบประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วิธีดำเนินการวิจัย สังเคราะห์กรอบแนวคิด การพัฒนาระบบ พัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง ปฐมนิเทศ ฝึกปฏิบัติ ขั้นการทดสอบผลการใช้ระบบ ดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 16 สัปดาห์ ประเมินสมรรถนะการวิจัย ประเมินทักษะการใช้สารสนเทศ อย่างมี วิจารณญาณ ประเมินพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ศึกษาผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

เครื่องมือที่ใช้การวิจัย ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง แบบประเมินสมรรถนะการวิจัย แบบประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย

ผลการวิจัย

ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning Cloud Learning Management System (CLMS) Group Collaboration System via Social Networks Group Collaboration System via Cloud Learning การบริหารจัดการเรียน การสอน การนำเสนอเนื้อหา การติดต่อสื่อสาร และปฏิสัมพันธ์ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การติดตามพฤติกรรมผู้เรียน Publishing Module Sharing Module Discussing Module Networking Module Face book Google+ Twitter

ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง CLMS Publishing Sharing Discussing Networking ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง

ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง มีผลการประเมินสมรรถนะการวิจัยอยู่ในระดับดีมาก

ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง มีผลการประเมินทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ อยู่ในระดับดีมาก

ผลการใช้ระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการเรียนรู้และพฤติกรรมการใช้งาน Cloud Learning Management System ส่งผลในทางบวกกับพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย และทักษะการใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษา

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่นำระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิงไปใช้ สร้างเจตคติที่ดีต่อการใช้ระบบ ปฐมนิเทศเพื่อบอกแนวทางในการดำเนินกิจกรรม ฝึกทักษะการใช้เครื่องมือของเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ควรมีระบบพี่เลี้ยงหรือระบบการให้คำปรึกษาทางไกล และฐานความช่วยเหลือ เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยให้กรณีที่ผู้เรียนพบปัญหาและต้องการความช่วยเหลือ

ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการให้คำปรึกษาทางไกลผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง ปฐมนิเทศเพื่อบอกแนวทาง ในการดำเนินกิจกรรม ควรพัฒนาระบบพี่เลี้ยงหรือระบบการให้คำปรึกษาทางไกล และฐานความช่วยเหลือ เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเหลือ เมื่อผู้เรียนพบปัญหาและต้องการ ความช่วยเหลือ

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา และศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่สนับสนุนการวิจัยครั้งนี้

การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมและคลาวด์เลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยและทักษะ การใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ Development of Group Collaboration System via Social Networks and Cloud Learning to Enhance Research Competence and Critical Thinking Skills in ICT ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2

ขอบคุณค่ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ หัวหน้าศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ panitaw@kmutnb.ac.th http://www.panitaw.com http://www.facebook.com/drpanita

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 ขอบคุณค่ะ ณพงศ์ วรรณพิรุณ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ w.naphong@hotmail.com http://www.facebook.com/w.naphong