การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารการจัดการประชุม ให้ประสบความสำเร็จ
Advertisements

ประเด็น ๒ มี.ค.๕๕ ทบทวนผลการประชุม ๒๒ ก.พ.๕๕
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
โดย นายณรงค์ บุญโญ ผชช. เฉพาะด้านการพัฒนาระบบราชการ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ภาคีห้องสมุด สถาบัน อุดมศึกษาไทย. ความเป็นมา คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการจัดการประชุม ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 22 ในภาพมีความร่วมมือ.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กรอบความคิด ห้องที่ ๔ The voice …That Unheard,but Meaningful เสียงร้อง... ที่ไม่มีใครได้ยิน แต่มี ความหมาย สมัชชาพัฒนาสังคมระดับชาติ ครั้งที่ ๑ ประจำปี
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
การจดรายงานการประชุม
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด
กลุ่มที่ 1 Blueprint for Change.
สรธ.สัญจร ครั้งที่ ๑ (ภาคเหนือ พื้นที่ สชป.๒) สรธ.สัญจร ครั้งที่ ๑ (ภาคเหนือ พื้นที่ สชป.๒) วันจันทร์ที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ โรงแรมเอเชีย ลำปาง.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
Revitalizing National Disease Control Program
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ประเด็น 22 ก.พ. 55 ปรัปปรุงห้องประชุมให้พร้อมรับแขกมาเยือน (อาทิ ทำ Chart สถิติ ข้อมูล ติด LCD ในห้องประชุม ฯลฯ) ต้องทบทวนคำสั่งต่าง ๆ จากการเปลี่ยนรองจาก.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
จังหวะก้าวงานสร้างสุข ๓ ปี
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
“เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล”
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
นายอิศรพันธ์ กาญจนเรขา นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ
ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.)
การประชุม คณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ของสำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ครั้งที่ ๔ / ๒๕๕๑ วันอังคารที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ เวลา ๑๐. ๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น ๓ ตึก.
การประชุมคณะอนุกรรมการ
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระเบียบวาระการประชุม ศปส.ทร. ณ ห้องประชุม สก.ทร. (ชั้น ๓)
ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พัชรา อุบลสวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ

คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) แต่งตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คมส.) นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา เป็นประธาน เลขาธิการ คสช. เป็นกรรมการและเลขาฯ

บทบาทหน้าที่ วางกลยุทธ์การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานตามมติ สมัชชาฯไปสู่การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม แสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กร และภาคี เครือข่ายในการขับเคลื่อนและดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ติดตามผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ และรายงานต่อ สมัชชาฯ และ คสช. เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม ให้ข้อเสนอแนะและคำปรึกษาต่อ คจ.สช. เกี่ยวกับการ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อจะบรรจุเป็นระเบียบวาระใน สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ข้อเสนอแนะต่อ คสช. คจ.สช. และกลไกอื่นๆ เกี่ยวกับ การดำเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติตามที่ เห็นสมควร  

มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เสนอเป็นวาระ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 9 D:Develop (คจ.สช.) 1 มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ D:Drive (คมส.) คจ.สช. พิจารณาความพร้อมของเอกสารและกลไกที่เกี่ยวข้อง สช. /พื้นที่ จัดรับฟังความเห็น เครือข่ายก่อน NHA 8 ทบทวนมติ 7 2 หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย นำมติไปขับเคลื่อน คสช.รับทราบ/มอบหมาย อนุฯวิชาการ/คทง.เฉพาะประเด็น พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 คมส. กลไกขับเคลื่อนงาน วางยุทธศาสตร์การทำงาน หนุนเสริมการทำงาน ติดตามประเมินผลและรายงานผล สร้างความร่วมมือ รายงานผล 6 จัดรับฟังความเห็น เครือข่าย ก่อนกำหนด ร่างระเบียบวาระ NHA ครม.พิจารณา ให้ความเห็นชอบ 5 4 เปิดรับข้อเสนอจาก เครือข่าย เชื่อมโยงการทำงาน คสช. ทบทวนมติที่ผ่านมา รายงานผลตามช่องทางต่างๆ สื่อสารสาธารณะ (เว็บไซต์ นสพ. สานพลัง ทีวี วิทยุ) จัดเวทีเจาะประเด็น จัดเวทีสาธารณะ คสช..พิจารณา ให้ความเห็นชอบ กลั่นกรอง ข้อเสนอประเด็น นโยบายฯ 10

การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ๑) นำเสนอต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาสั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ อันจะเป็นการเพิ่มความแข็งแรง (strengthen) ให้กับข้อเสนอที่จำเป็น (โดยปกติหลังการมีมติสมัชชาสุขภาพแล้ว สช. จะรายงานให้ คสช. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และมอบหมายผู้เกี่ยวข้องดำเนินการต่อไป)

๒) ยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนเพื่อการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพ เพื่อสนับสนุนกลไกขับเคลื่อน และผู้เกี่ยวข้องตามมติสมัชชาฯ ให้ได้อย่างเหมาะสมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๘ ส. หรือ DENMARKS ประกอบด้วย สาธิต (Demonstration) เสริมกำลังใจ (Encouragement) สานเครือข่าย (Networking) สร้างแรงจูงใจ (Motivation) เสริมการชื่นชม (Appreciation) สร้างการยอมรับ (Recognition) สนับสนุนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) สื่อสารสังคม (Social Communication)

Revisit ๓) ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพฯ ในกรณี ที่พบว่า สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลง มติสมัชชาฯ มีปัญหาในการปฏิบัติ หรือมีข้อห่วงใยจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยอาจนำเข้าสู่การเป็นระเบียบวาระใหม่ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ Revisit

๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ. ศ ๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ.ศ.๒๕๕๑–๒๕๕๖) รวม ๕๙ มติ ครั้งที่ ๑ จำนวน ๑๔ มติ ครั้งที่ ๒ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๓ จำนวน ๙ มติ ครั้งที่ ๔ จำนวน ๖ มติ ครั้งที่ ๕ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๘ มติ

มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖ มติ การสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อ “สุขภาพหนึ่งเดียว”

(พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :- ความก้าวหน้า : ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุม คสช. (พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) มีมติรับทราบ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖ จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :-

๑. เลขาธิการ คสช. แจ้งมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบ เพื่อพิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องในมติที่ เกี่ยวข้องตามที่เห็นสมควรต่อไป (สช.ว ๐๖๐๘/๒๕๕๗ ลว.๑๘ ส.ค.๒๕๕๗) ๒. คมส. พิจารณาแสวงหาวิธีการผลักดันและขับเคลื่อน มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติฯ เพื่อให้บรรลุผลตามควร แก่กรณี หากเห็นว่ามติใดสมควรเสนอให้ คสช.พิจารณา ก็ให้เสนอ คสช.พิจารณาต่อไป

ขอบคุณค่ะ