การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พัชรา อุบลสวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) แต่งตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คมส.) นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา เป็นประธาน เลขาธิการ คสช. เป็นกรรมการและเลขาฯ
บทบาทหน้าที่ วางกลยุทธ์การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานตามมติ สมัชชาฯไปสู่การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม แสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กร และภาคี เครือข่ายในการขับเคลื่อนและดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ ติดตามผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาฯ และรายงานต่อ สมัชชาฯ และ คสช. เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม ให้ข้อเสนอแนะและคำปรึกษาต่อ คจ.สช. เกี่ยวกับการ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อจะบรรจุเป็นระเบียบวาระใน สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ข้อเสนอแนะต่อ คสช. คจ.สช. และกลไกอื่นๆ เกี่ยวกับ การดำเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติตามที่ เห็นสมควร
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เสนอเป็นวาระ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 9 D:Develop (คจ.สช.) 1 มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ D:Drive (คมส.) คจ.สช. พิจารณาความพร้อมของเอกสารและกลไกที่เกี่ยวข้อง สช. /พื้นที่ จัดรับฟังความเห็น เครือข่ายก่อน NHA 8 ทบทวนมติ 7 2 หน่วยงาน องค์กร เครือข่าย นำมติไปขับเคลื่อน คสช.รับทราบ/มอบหมาย อนุฯวิชาการ/คทง.เฉพาะประเด็น พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย 3 คมส. กลไกขับเคลื่อนงาน วางยุทธศาสตร์การทำงาน หนุนเสริมการทำงาน ติดตามประเมินผลและรายงานผล สร้างความร่วมมือ รายงานผล 6 จัดรับฟังความเห็น เครือข่าย ก่อนกำหนด ร่างระเบียบวาระ NHA ครม.พิจารณา ให้ความเห็นชอบ 5 4 เปิดรับข้อเสนอจาก เครือข่าย เชื่อมโยงการทำงาน คสช. ทบทวนมติที่ผ่านมา รายงานผลตามช่องทางต่างๆ สื่อสารสาธารณะ (เว็บไซต์ นสพ. สานพลัง ทีวี วิทยุ) จัดเวทีเจาะประเด็น จัดเวทีสาธารณะ คสช..พิจารณา ให้ความเห็นชอบ กลั่นกรอง ข้อเสนอประเด็น นโยบายฯ 10
การขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ๑) นำเสนอต่อคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณาสั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ อันจะเป็นการเพิ่มความแข็งแรง (strengthen) ให้กับข้อเสนอที่จำเป็น (โดยปกติหลังการมีมติสมัชชาสุขภาพแล้ว สช. จะรายงานให้ คสช. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และมอบหมายผู้เกี่ยวข้องดำเนินการต่อไป)
๒) ยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนเพื่อการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพ เพื่อสนับสนุนกลไกขับเคลื่อน และผู้เกี่ยวข้องตามมติสมัชชาฯ ให้ได้อย่างเหมาะสมเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๘ ส. หรือ DENMARKS ประกอบด้วย สาธิต (Demonstration) เสริมกำลังใจ (Encouragement) สานเครือข่าย (Networking) สร้างแรงจูงใจ (Motivation) เสริมการชื่นชม (Appreciation) สร้างการยอมรับ (Recognition) สนับสนุนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) สื่อสารสังคม (Social Communication)
Revisit ๓) ทบทวนมติสมัชชาสุขภาพฯ ในกรณี ที่พบว่า สถานการณ์มีการเปลี่ยนแปลง มติสมัชชาฯ มีปัญหาในการปฏิบัติ หรือมีข้อห่วงใยจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยอาจนำเข้าสู่การเป็นระเบียบวาระใหม่ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๗ Revisit
๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ. ศ ๔) มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑- ๖ (พ.ศ.๒๕๕๑–๒๕๕๖) รวม ๕๙ มติ ครั้งที่ ๑ จำนวน ๑๔ มติ ครั้งที่ ๒ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๓ จำนวน ๙ มติ ครั้งที่ ๔ จำนวน ๖ มติ ครั้งที่ ๕ จำนวน ๑๑ มติ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๘ มติ
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖ มติ การสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วน เพื่อ “สุขภาพหนึ่งเดียว”
(พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :- ความก้าวหน้า : ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ที่ประชุม คสช. (พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว เป็นประธาน) มีมติรับทราบ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๕๖ จำนวน ๖ มติ โดยมอบหมายให้ :-
๑. เลขาธิการ คสช. แจ้งมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ให้หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบ เพื่อพิจารณาดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องในมติที่ เกี่ยวข้องตามที่เห็นสมควรต่อไป (สช.ว ๐๖๐๘/๒๕๕๗ ลว.๑๘ ส.ค.๒๕๕๗) ๒. คมส. พิจารณาแสวงหาวิธีการผลักดันและขับเคลื่อน มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติฯ เพื่อให้บรรลุผลตามควร แก่กรณี หากเห็นว่ามติใดสมควรเสนอให้ คสช.พิจารณา ก็ให้เสนอ คสช.พิจารณาต่อไป
ขอบคุณค่ะ