การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ นายวีระกุล อรัณยะนาค ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดนนทบุรี
จุดประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม 1. มีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ นโยบาย แผน จุดเน้น 2. ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ และนำเสนอ การแปลงนโยบายและแผน สู่การปฏิบัติ
การบรรยาย ความรู้เบื้องต้น 20 นาที ฝึกปฏิบัติ 30 นาที นำเสนอ 50 นาที ความรู้เบื้องต้น 20 นาที ฝึกปฏิบัติ 30 นาที นำเสนอ 50 นาที สรุป 20 นาที
สิ่งที่แสดงถึงความตั้งใจของผู้บริหาร ในการปฏิบัติงานในอนาคต นโยบาย คือ สิ่งที่แสดงถึงความตั้งใจของผู้บริหาร ในการปฏิบัติงานในอนาคต
แผนปฏิบัติการประจำปี ของ สำนักงาน กศน.จังหวัด และ สถานศึกษา กศน. แผน หมายถึง แผนปฏิบัติการประจำปี ของ สำนักงาน กศน.จังหวัด และ สถานศึกษา กศน.
กระบวนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ หมายถึง การแปลงวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ในนโยบายให้เป็นแผนงาน แนวทาง โครงการกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม ประกอบด้วย
กระบวนการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การจัดหาทรัพยากร การวางแผนโครงการ การออกแบบองค์กร การดำเนินงาน - แผนปฏิบัติการประจำปี -
ข้อพิจารณาการแปลงนโยบาย บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน/สถานศึกษา ลำดับความสำคัญของนโยบาย ศักยภาพขององค์กร 3.1 ทรัพยากร 3.2 วัฒนธรรมองค์กร 3.3 ภาคีเครือข่าย
ข้อพิจารณาการแปลงนโยบาย 4. ศาสตร์และศิลปะสู่การปฏิบัติ 4.1 บริบทชุมชน/ผู้เรียน/ผู้รับบริการ 4.2 Andragogy 4.3 กฎหมาย/ระเบียบ/คำสั่ง
ข้อพิจารณาการแปลงนโยบาย 4.4 ความสามารถในการนำศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ เช่น Computer วิจัย การวางแผนกลยุทธ์ ฯลฯ 4.5 มุมมองปัจจุบันสู่อนาคต การพัฒนา อย่างยั่งยืน ,เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์, นโยบายไทยเข้มแข็ง
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของ การใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สิน ทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับ รากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมสมัยใหม่
นโยบายไทยเข้มแข็ง แนวทางของเคนส์ นักเศรษฐศาสตร์ “ให้จัดสรรเม็ดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจใน โครงการที่ส่งผลเชื่อมโยงเป็นทอดๆ ต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากที่สุด”
การพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาเพื่อบรรลุถึงความต้องการ ของมนุษย์ในปัจจุบันและต้องไม่เป็น การลดทอนหรือเบียดบังโอกาสของ มนุษย์ในอนาคต
ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ 6. ทัศนคติของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ (ความเข้มแข็ง – ผลกระทบ –ผลประโยชน์) 7. กลไกลภายใน หรือ ระหว่างหน่วยงานที่ นำนโยบายไปปฏิบัติ (ความสัมพันธ์ – การแทรกแซง)
ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ 1. ลักษณะของนโยบาย (ประสบการณ์ - ความเห็นผลได้) 2. วัตถุประสงค์ของนโยบาย (ความชัดเจน – ดัชนี)
ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว ของการนำนโยบายไปปฏิบัติ 3. ความเป็นไปได้ทางการเมือง /เทคโนโลยี(สนับสนุน) 4. ความพอเพียงของทรัพยากร 5. ลักษณะของหน่วยงานที่นำไปปฏิบัติ (วัฒนธรรมองค์กร)
หลักธรรมาภิบาล (การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า