งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ภายใต้ระบบเขตสุขภาพ สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย เลขาธิการ มสช

2 ภาพรวมของระบบสุขภาพ นอกเหนือจากบทบาทหลัก 4 ด้านในระบบสุขภาพ บทบาทการพัฒนา และสนับสนุนทางวิชาการกับ ภาคีในระบบสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมี หน่วยงานรับผิดชอบอย่างจริงจัง Policy making Regulating Purchasing Providing Technical development and support 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

3 แนวคิด ศูนย์เขตกรมวิชาการ มีภาระกิจสำคัญในการ สนับสนุนทางวิชาการ แก่ภาคี ไม่ใช่หน่วย ปฏิบัติการตรง การสนับสนุนทางวิชาการทำได้หลายวิธี แต่สิ่ง สำคัญต้องทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และดีง ความรู้กับศักยภาพภาคีออกมาให้ได้มากที่สุด แทนที่จะใช้วิธีให้ความรู้ที่เรามี หรือบอกวิธีทำงาน ที่เราอยากเห็น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

4 แนวคิด การติดตามความก้าวหน้าของงาน โดยใช้เป้าหมายเชิง outcome เป็นกลวิธีสำคัญของการ สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ไม่ควรใช้การติดตามกิจกรรม หรือเน้นแต่ output ด้วย การขอรายงาน เป้าหมายงานมาจากสองส่วน ส่วนกลาง (นโยบายชาติ) และมาจากการวิเคราะห์และตัดสินใจร่วมกันของกลไก ระดับเขต 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

5 แนวคิด รูปแบบการทำงาน (model) เพื่อให้ได้เป้าหมายในแต่ละ เรื่อง เป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องเอาใจใส่ แต่ไม่ควรเริ่มจาก การสั่งการ หรือบอกโดยนักวิชาการ (explicit knowledge) แต่เริ่มจากการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์/มุมมอง ร่วมกับภาคี (tacit knowledge) การติดตามความก้าวหน้า เป็นโอกาสที่ดีของการเรียนรู้ ร่วมกัน เพื่อปรับทั้งรูปแบบการทำงาน (model) และ วิธีการทำงาน (process/practices/how to) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

6 รูปแบบ (model) เริ่มจากมีเป้าหมายงานที่ชัดเจน
ต้อง Identify/define ภาคีสำคัญสำหรับการทำงานในแต่ละเรื่อง ทำให้ภาคีเห็นเป้าหมายร่วมกันให้ได้ (ประชุมโดยใช้ข้อมูลและมี การสื่อสารอย่างมีพลัง) สร้างแผนการทำงานของภาคี โดยเริ่มจาก ความรู้/ประสบการณ์ ของภาคี และผสมผสาน แนวคิด/วิธีการ ของนักวิชาการ ถ้าจำเป็น ติดตามความก้าวหน้า โดยดูจากเป้าหมายเชิง outcome แล้วนำ ข้อมูลที่ได้มาปรึกษาหารือ เพื่อปรับการทำงาน เริ่มจาก tacit และ ใช้ explicit knowledge ร่วมหากจำเป็น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

7 รูปแบบ การทำให้เกิดระบบข้อมูลที่จะช่วยในการ monitor ได้ อย่างมีคุณภาพ จะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ต้องให้ ความสำคัญแต่เริ่มต้น การจัดกลไก และกำหนดกระบวนการที่จะทำให้ภาคีต่างๆ มารับรู้เป้าหมายร่วมกัน รับรู้ความก้าวหน้าในการทำงาน ร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ในระหว่างการทำงาน เป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะช่วยปรับรูปแบบและวิธีการทำงาน ของภาคีต่างๆให้เข้าสู่เป้าได้มากขึ้น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

8 รูปแบบ (model) อย่าเริ่มจากการฝึกอบรม แจกเป้า หรือแจก งปม (ด้วย การให้ทำโครงการมาขอ งปม) แล้วขอรายงาน เพราะจะ ได้รายงานแต่ไม่เกิดผลประโยชน์ที่แท้จริงสำหรับ กลุ่มเป้าหมาย การออกเยี่ยมภาคี (เยี่ยมเสริมพลัง) เพื่อสร้างโอกาสการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ผสมผสาน explicit and tacit knowledge อย่างกลมกลืน จะเป็นการสร้างศักยภาพภาคี ที่มีคุณภาพ และยั่งยืน 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

9 รูปแบบ (model) มีการสร้าง และจัดหาเทคโนโลยี หรือเครื่องมือในการ ทำงานที่เหมาะสม (แบบสำรวจสถานการณ์ แบบประเมิน ภาวะสุขภาพ ฯลฯ)และให้ความรู้เพื่อให้ภาคีใช้เป็น นับเป็นการสนับสนุนทางวิชาการที่สำคัญ ระดมความร่วมมือจาก นักวิชาการภายนอกในเรื่องที่ เกี่ยวข้อง มาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานร่วมกับ ภาคีในพื้นที่ เป็นปัจจัยสำคัญ ในการสร้างการยอมรับ และเกิดการรวมพลังระหว่างภาคีสำคัญๆ แทนที่จะได้ เพียงบางภาคี ในบางเรื่องเท่านั้น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

10 แผนปฏิบัติการ ใช้เป้าหมายที่กำหนดจากส่วนกลาง (นโยบายประเทศ) เป็นตัวเริ่มต้น นอกจากเป้าหมายจากส่วนกลาง อาจต้องผสมผสาน เป้าหมายระดับเขตฯ (แต่ละเขตน่าจะมีกระบวนการ วางแผนเพื่อกำหนดเป้าเขต ที่เพิ่มเติมจากส่วนกลาง) นำเป้าหมายงานทั้งหมดมาวิเคราะห์ว่าเกี่ยวข้องกับภาคี กลุ่มใดบ้าง ทั้งภาคีในระบบบริการสุขภาพ และภาคีอื่น นอกระบบบริการ 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

11 แผนปฏิบัติการ ทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนทางวิชาการ อย่างน้อยใน 2 ลักษณะ
ทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนทางวิชาการ อย่างน้อยใน 2 ลักษณะ แผนการติดตามประเมินผล และสร้างกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับวิธีการทำงานของแต่ละภาคี (ประชุมติดตามความก้าวหน้าและปรับวิธีทำงานเพื่อให้ เข้าเป้า) แผนพัฒนา/เสริมสร้างศักยภาพภาคี เพื่อกระตุ้นการ ทำงาน และสร้างการเรียนรู้แนวทางการทำงานอย่าง สม่ำเสมอ (เยี่ยมเสริมพลังภาคีเพื่อการทำงานอย่างมี คุณภาพ) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

12 บทบาทหน้าที่อื่นๆของกรมวิชาการ
การตั้งเป้าและกำหนดยุทธศาสตร์การทำงานในระดับเขต กรมวิชาการเขต ต้องมีระบบข้อมูลที่จะชี้เป้างานสำคัญที่ ต้องทำ (นอกเหนือจากที่กำหนดจากส่วนกลาง) กรมวิชาการเขตต้องมีความรู้ทางเทคนิค (หรือสามารถหา นักวิชาการภายนอกที่มีความรู้) ที่จะช่วยให้ภาคีสามารถ นำไปใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตรทำงานให้ได้ผล สอดคล้องกับเป้า (นอกเหนือจาก tacit knowledge ของ ภาคีที่มีอยู่เดิม) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

13 บทบาทหน้าที่อื่นๆ การพัฒนาความรู้ทางเทคนิคเพื่อการแก้ปัญหา และการถ่ายทอด ให้เกิดความเข้าใจและสามารถนำไปปรับใช้ การทำการศึกษาวิจัยให้ได้รูปแบบการแก้ปัญหาที่ได้ผล (model development) การทำคู่มือ และ/หรือ เครื่องมือประกอบการทำงานตาม model ที่ พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเอาไปใช้ต่อ เพื่อแก้ปัญหาที่อยู่ใน เป้าหมาย เป็นหน้าที่โดยตรงของหน่วยวิชาการแต่ละด้านในส่วนกลางของ กรมวิชาการ 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

14 Group work – project plan
3 major concerns and actions to be specified/answered What infrastructure What HRD How much money 3 main results Coverage/achievement HRH quality – learning Completion within time frame 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google