โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ สำนักชลประทานที่ 10 กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
1. นางหมายปอง เหลือโกศล ประธานกลุ่ม 2. นายนัด เนตรมณีสุก สมาชิกกลุ่ม 2 1. นางหมายปอง เหลือโกศล ประธานกลุ่ม 2. นายนัด เนตรมณีสุก 3. นางกชพรรณ เพื่องฟุ้ง 4. นางสาวพิมล ศรีสันติสุข 5. นางสาววรรณา แจ่มจำรัส 6. นางสุภชา แก้วเกรียงไกร 7. นางกัลยาณี ประสมศรี 8. นายธนวัฒน์ สิงห์วนาวงศ์ 9. นายอภิชาติ จิรเจริญผล 10. นายธวัชชัย สุขเจริญโกศล 11. นางสาวกาญจนา นิยมมาก 12. นายพีรสิชฌ์ อนันต์วณิชย์ชา 13. นายธีรวัจน์ เกษมวรรณ์ 14.นายชัยรัตน์ สีด้วง เลขานุการ 29 – 30 พ.ย. 2556 โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน
ประวัติการดำเนินการก่อสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พ.ศ. 2508 เริ่มดำเนินการศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสัก เป็นครั้งแรก 19 ก.พ. 2532 พระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทานศึกษา ความเหมาะสมโครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสักอย่าง จริงจังและเร่งด่วน 3 พ.ค. 2537 คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ดำเนินการก่อสร้างเขื่อนฯ 2 ธ.ค. 2537 เริ่มดำเนินการก่อสร้าง 30 ก.ย. 2542 การก่อสร้างตัวเขื่อนและอาคารประกอบ แล้วเสร็จ 25 พ.ย. 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
29 – 30 พ.ย. 2556 โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน
ลักษณะของลุ่มน้ำป่าสัก แม่น้ำป่าสักเป็นแม่น้ำสาขาที่สำคัญสายหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา ต้นน้ำเริ่มที่ อ.ด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์, ลพบุรี, สระบุรี, และบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมความยาว 513 กิโลเมตร มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 16,291 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยในแต่ละปี 2,400 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคม กันยายน และตุลาคม โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ตั้งอยู่ใน ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี เป็นโครงการขนาดใหญ่ ตามพระราชดำริ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
Service Spillway อาคารระบายน้ำล้น ลักษณะโครงการ เป็นเขื่อนดินชนิดแกนดินเหนียวที่ยาวที่สุดในประเทศไทย คือมีความยาว 4,860 เมตร สูง 36.50 เมตร มีอาคารระบายน้ำ 3 อาคาร คือ Service Spillway อาคารระบายน้ำล้น River Outlet อาคารท่อบายน้ำลงลำน้ำเดิม Auxiliary Spillway อาคารท่อระบายน้ำฉุกเฉิน สามารถเก็บกักน้ำได้ที่ระดับปกติ + 42.00 เมตร รทก. ปริมาณน้ำ 785 ล้าน ลบม. ที่ระดับเก็บกักสูงสุด อยู่ที่ + 43.00 เมตร รทก. ปริมาณ 960 ล้าน ลบ.ม. ลุ่มน้ำหลักคือลุ่มน้ำป่าสัก พื้นที่โครงการ มีพื้นที่ 288,619 ไร่ มีพื้นที่ชลประทาน 174,500 ไร่ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
แผนที่แสดงที่ตั้งเขื่อนและอาคารประกอบ ระดับน้ำสูงสุด+43.00 N AUXILIARY SPILLWAY ตัวเขื่อนดิน แม่น้ำป่าสัก RIVER OUTLET SERVICE SPILLWAY ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานโครงการฯ เขาถ้ำพระ แผนที่แสดงที่ตั้งเขื่อนและอาคารประกอบ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
อาคารประกอบตัวเขื่อน 3 แห่ง อาคารท่อระบายน้ำลงลำน้ำเดิม (RIVER OUTLET) ท่อเหล็กเหนียว 3.00 ม. ระบายน้ำสูงสุด 80 ลบ.ม./วินาที อาคารระบายน้ำล้น (SERVICE SPILLWAY) ขนาดกว้าง 7 ช่อง @ 12.50 ม. ระบายน้ำสูงสุด 3,900 ลบ.ม./วินาที อาคารท่อระบายน้ำฉุกเฉิน (AUXILIARY SPILLWAY) ท่อเหล็กเหนียว 3.00 ม. ระบายน้ำสูงสุด 65 ลบ.ม./วินาที โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
รูปตัดตามขวางเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เหนือน้ำ ท้ายน้ำ ความจุเก็บกักสูงสุด 960 ล้าน ลบ.ม. ที่ระดับเก็บกักสูงสุด +43.00 ม.รทก. สันเขื่อนยาว 4,860 ม. ที่ระดับ + 46.50 ม.รทก. หินเรียง หินทิ้ง แกนดินเหนียว
โครงการสูบน้ำพัฒนานิคมและพัฒนานิคม - แก่งคอย โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
โรงสูบน้ำ บ่อพักน้ำ B เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 29 – 30 พ.ย. 2556 โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
ห้องควบคุม โครงการสูบน้ำพัฒนานิคมและพัฒนานิคม - แก่งคอย โรงสูบน้ำ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
บ่อพักน้ำ ชุดเครื่องกว้าน โครงการสูบน้ำพัฒนานิคมและพัฒนานิคม - แก่งคอย โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
สัดส่วนการใช้น้ำจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ การเกษตร 83% อุตสาหกรรม 4% อุปโภค-บริโภค และประปา 3% รักษาระบบนิเวศน์ 10% โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 1. การบริหารจัดการน้ำในช่วงน้ำหลาก 2. การบริหารจัดการน้ำในช่วงน้ำแล้ง โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
ปริมาณการระบายน้ำที่ไม่ให้เกิดผลกระทบ ประมาณ 700 ลบ.ม./วินาที ปริมาณน้ำไหลลงอ่างในฤดูน้ำหลากประมาณ 900 – 1,200 ลบ.ม./วินาที ปริมาณการระบายน้ำที่ไม่ให้เกิดผลกระทบ ประมาณ 700 ลบ.ม./วินาที การบริหารจัดการน้ำในช่วงน้ำหลาก โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
เพื่ออุตสาหกรรม 28 ล้าน ม.3 เพื่อการอุปโภค-บริโภค 21 ล้าน ม.3 การบริหารจัดการน้ำในช่วงน้ำแล้ง ฤดูแล้ง พ.ย. - เม.ย. เพื่อการเกษตร 581 ล้าน ม.3 เพื่ออุตสาหกรรม 28 ล้าน ม.3 เพื่อการอุปโภค-บริโภค 21 ล้าน ม.3 รักษาระบบนิเวศน์ 70 ล้าน ม.3 รวมปริมาณน้ำที่ใช้ในฤดูแล้ง 700 ล้าน ม.3/ปี โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
ประโยชน์ของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เป็นแหล่งน้ำเพื่ออุปโภค ของชุมชนในเขตจังหวัด ลพบุรี สระบุรี เป็นแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ชลประทานที่เกิดใหม่ในเขต จังหวัดลพบุรี สระบุรี ช่วยป้องกันอุทกภัยในเขตพื้นที่ริมแม่น้ำป่าสัก ในเขตจังหวัดลพบุรีสระบุรี และ ช่วยบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างของแม่น้ำเจ้าพระยา รวมถึงกรุงเทพฯ และเขตปริมณฑลด้วย เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และเป็นแหล่งประมงน้ำจืดขนาดใหญ่ เป็นแหล่งน้ำเสริม เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคในเขตกรุงเทพฯ เป็นแหล่งท่องเที่ยว โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
สิ่งที่ได้รับจากการสัมนา ณ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ได้เห็นและเข้าใจวัตถุประสงค์ของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์และอาคารชลประทานประเภทต่างๆ เข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการน้ำเพื่อการชลประทานตั้งแต่การเก็บกักไปจนถึงการส่งน้ำถึงแปลงนา เข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการน้ำเพื่อป้องกันบรรเทาอุทกภัยของเขื่อนเก็บกักน้ำของกรมชลประทานในช่วงฤดูน้ำหลาก สามารถนำประสบการณ์ที่ได้ในครั้งนี้ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556
จบการนำเสนอ โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน 29 – 30 พ.ย. 2556