งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา
Q สูงสุดปี 2556 จนถึง 12 ตค ที่ อ.กบินทร์บุรี 763 cms Q สูงสุดปี 2556 จนถึง 12 ตค ที่ อ.เมือง 912 cms

2 การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา
Q สูงสุดปี 2556 จนถึง 12 ตค ที่ อ.กบินทร์บุรี 763 cms ซึ่งไม่เกินรอบการเกิด 5 ปี Q สูงสุดปี 2556 จนถึง 12 ตค ที่ อ.เมือง 912 cms ซึ่งไม่เกินรอบการเกิด 5 ปี

3 แนวทางระบายน้ำหลาก (Flood Way) ก้นคลอง 30 ม.
คลองขุดใหม่ 12 กม. คลองขุดขยาย 42.5 กม. ปตร.ปลายคลอง ทางเลี่ยงเมือง ปตร.ปากคลอง โครงการบรรเทาอุทกภัยจังหวัดปราจีนบุรี อำเภอศรีมหาโพธิ – คลองหาดยาง - คลองคูมอญ แนวทางระบายน้ำหลาก (Flood Way) ก้นคลอง 30 ม. อ.ศรีมหาโพธิ - ค.หาดยาง – คลองคูมอญ – ปตร.คูมอญ ยาว กม. Kgt.3 Kgt.1

4 หาความสามารถในการระบายน้ำเฉลี่ยของแม่น้ำปราจีนบุรี
การวิเคราะห์สภาพทางชลศาตร์ของแม่น้ำปราจีนบุรี (ช่วงตั้งแต่ อ.กบินทร์บุรี ถึง บริเวณ ปตร.บางพลวง) ด้วยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ หน้าตัดลำน้ำ ใช้จากแบบจำลอง Hec-Ras ใน โครงการศึกษาสำรวจออกแบบเพื่อปรับปรุงโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาบางพลวง (ธันวาคม 2551) โดย สชป.9 ความยาวลำน้ำที่วิเคราะห์ประมาณ 83 กม. เงื่อนไขขอบเขตด้านเหนือน้ำ (Upstream boundary)ใช้อัตราการไหลของสถานี Kgt. 3 อำเภอกบินทร์บุรี เงื่อนไขขอบเขตด้านท้ายน้ำ (Downstream boundary) กรณีอิทธิพลน้ำทะเลหนุน ใช้ข้อมูลระดับน้ำด้านแม่น้ำที่บันทึกที่ ปตร.บางพลวง ส่วนกรณี Freeflow ใช้ค่า Normal slope 1:15,000 กรณีวิเคราะห์ หาความสามารถในการระบายน้ำเฉลี่ยของแม่น้ำปราจีนบุรี วิเคราะห์หาอิทธิพลจากอิทธิพลน้ำทะเลหนุน ของปี 2556 (ระยะเวลาวิเคราะห์ 8 สค.- 8ตค.) วิเคราะห์หาประสิทธิผลของคลองระบายน้ำศรีมหาโพธิ ของปี 2556 (ระยะเวลาวิเคราะห์ 8 สค.- 8ตค.) โดยใช้ Q คลองผัน = 300 cms, 600 cms และแก้มลิง

5 ผลการวิเคราะห์หาความสามารถในการระบายน้ำเฉลี่ยของแม่น้ำปราจีนบุรี
600 500 400 500 cms 400 cms

6 ผลการวิเคราะห์หาอิทธิพลจากอิทธิพลน้ำทะเลหนุนของปี 2556

7 ผลการวิเคราะห์หาอิทธิพลจากอิทธิพลน้ำทะเลหนุนของปี 2556

8 ผลการวิเคราะห์วิเคราะห์หาอิทธิพลจากอิทธิพลน้ำทะเลหนุนของปี 2556
0.98 เมตร อิทธิพลของน้ำทะเลมีมากที่สุด 0.98 เมตรซึ่งเป็นช่วงที่ Qมีค่าน้อย (170 cms) และมีผลน้อยลงเมื่อ Qเพิ่มมากขึ้น 2.26 เมตร อิทธิพลของน้ำทะเลมีมากที่สุด 2.26 เมตร ซึ่งเป็นช่วงที่Q มีค่าน้อย (250 cms) และมีผลน้อยลงเมื่อ Qเพิ่มมากขึ้น

9 ผลการ วิเคราะห์หาประสิทธิผลของคลองระบายน้ำศรีมหาโพธิของปี 2556
กรณีปี 2556 สภาพปัจจุบัน Qผัน = 300 cms ไม่คิดอิทธิพลน้ำทะเล Qผัน = 360 cms +แก้มลิง Qผัน = 360 cms Qผัน = 300 cms คิดอิทธิพลน้ำทะเล

10 ผลการ วิเคราะห์หาประสิทธิผลของคลองระบายน้ำศรีมหาโพธิของปี 2556

11 ผลการ วิเคราะห์หาประสิทธิผลของคลองระบายน้ำศรีมหาโพธิของปี 2556
+7.1 ม.รทก. Kgt. 6 คลองผันน้ำสามารถลด Q และระดับน้ำได้มากเนื่องจากอิทธิพลจากน้ำทะเลมีน้อย +4.45 ม.รทก. Kgt. 1 คลองผันน้ำสามารถลด Q ได้มาก แต่ลดระดับน้ำได้น้อยหากมีอิทธิพลจากน้ำทะเล

12 ไม่คิดอิทธิพลน้ำทะเล
ผลการ วิเคราะห์หาประสิทธิผลของคลองระบายน้ำศรีมหาโพธิของปี 2556 ปัจจุบัน Qผัน =300 Qผัน=360 และแก้มลิง ไม่คิดอิทธิพลน้ำทะเล คิดอิทธิพลน้ำทะเล Kgt.6 จำนวนวัน 8 ความลึกน้ำล้นเฉลี่ย ซม. 5 Kgt.1 17 11 10 9 76 25 ประสิทธิผล: ที่ อ.ศรีมหาโพธิ Q ผัน = 300 ลบ.ม./วินาที สามารถลดจำนวนวันน้ำท่วมและความลึกน้ำล้นตลิ่งได้ 100 % ไม่ว่าจะมีอิทธิพลของน้ำทะเลหนุนหรือไม่ ที่ อ.เมืองปราจีนบุรี Q ผัน = 300 ลบ.ม./วินาที ลดจำนวนวันน้ำท่วมได้ % และความลึกน้ำล้นตลิ่งได้ % ขึ้นอยู่กับอิทธิของน้ำทะเลหนุน Q ผัน = 360 ลบ.ม./วินาที ลดจำนวนวันน้ำท่วมได้ % และความลึกน้ำล้นตลิ่งได้ % Q ผัน = 360 ลบ.ม./วินาที และแก้มลิง ลดจำนวนวันน้ำท่วมได้ % และความลึกน้ำล้นตลิ่งได้ %

13

14 เปิดประตูรับน้ำเข้าแก้มมลิงเมื่วันที่ 28 กันยายน ซึ่งระดับน้ำที่ อ
เปิดประตูรับน้ำเข้าแก้มมลิงเมื่วันที่ 28 กันยายน ซึ่งระดับน้ำที่ อ.ศรีมหาโพธิอยู่ที่ระดับ ม.รทก.

15

16

17

18 ปัญหา-อุปสรรค Kgt.1 Kgt.3 Kgt.6

19

20

21

22

23

24 อาคารปากคลองศรีมหาโพธิ
อาคารปากคลองหาดยาง


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ทางด้านอุทกวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google