ระบบการเรียกเก็บหนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
Advertisements

การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
งานระบบทะเบียนพัสดุ ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
ใส่ Username และ Password รายงานการขายและรายงานจ่ายเงิน [ คลิกที่นี่ ]
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
ระบบการจัดส่งสินค้า (Shipping system)
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
ระบบบัญชี.
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
การเขียนจดหมาย.
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ
ส่วนอำนวยการฝ่ายที่ xx ภายใต้ฝ่ายขายและบริการลูกค้าที่ xx
Transaction Processing Systems
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
โครงการปรับปรุงระบบ Oracle Financial มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4)
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ระบบฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
การวัดการวิจัยในการตลาด
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
บริการใหม่ตามใจธุรกิจ
โปรแกรมการจัดการระบบการเงิน ในร้านโชห่วย
Accounts payable system
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการเรียกเก็บหนี้ ส่วนที่ 9 ระบบการเรียกเก็บหนี้ และการเรียกเก็บเงิน

ระบบการแจ้งหนี้และเรียกเก็บเงิน

ระบบการแจ้งหนี้ ระบบการแจ้งหนี้และเรียกเก็บเงิน (billing and collection system) เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรรายได้ กิจการตกลงขายสินค้าหรือบริการให้ลุกค้า เมื่อสินค้าหรือ บริการถูกส่งมอบให้ลูกค้าแล้วถือได้ว่าลูกค้าเป็นหนี้ กิจการและจะต้องชำระหนี้สินนั้น ระบบการแจ้งหนี้และ เรียกเก็บเงินมีหน้าที่ติดตามทวงหนี้ และเก็บรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าที่ค้างชำระหนี้เหล่าหนี้

เรียกเก็บเงินจากลูกค้า ขั้นตอนในการจัดทำใบแจ้งหนี้ส่งไปยังลูกค้า พร้อมกับการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการขายลงใน แฟ้มข้อมูลหลักของสินค้าคงเหลือ แฟ้มข้อมูลหลักของ ลูกค้า แฟ้มข้อมูลหลักของบัญชีแยกประเภททั่วไป

ข้อมูลที่ควรปรากฏอยู่ในใบเรียกเก็บเงิน 1. ข้อมูลเฉพาะ เช่น ชื่อกิจการ ที่ตั้ง รหัสใบเรียกเก็บเงิน 2. รายละเอียดลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ สถานที่ที่จะต้องส่งสินค้า เลขที่ ใบสั่งของ รหัสลูกค้า 3. เงื่อนไขการขาย 4. เงื่อนไขการจัดส่งสินค้า 5. ข้อกำหนดในการจัดส่งสินค้า 6. รายละเอียดเกี่ยวกับสินค้า เช่น รหัสสินค้า 7. จำนวนสินค้าที่จัดส่ง 8. ราคาสินค้าต่อหน่วย

ข้อมูลที่ควรปรากฏอยู่ในใบเรียกเก็บเงิน 9. จำนวนเงินที่คูณได้ของรายการสินค้าแต่ละรายการ 10. จำนวนเงินรวมของรายการค้าที่อยู่ในใบเรียกเก็บเงิน 11. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้า เช่น ภาษีค่าบริการ ค่าติดตั้ง ค่าขนส่ง 12. จำนวนเงินรวมของค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 13. จำนวนเงินรวมของใบเรียกเก็บเงิน

รับชำระเงินจากลูกค้า ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการปฏิบัติงานในวงจร รายได้สำหรับการขายเชื่อ กระบวนการปฏิบัติงานเริ่มต้น หลังจากลูกค้าได้ส่งเช็คพร้อมใบนำส่งเงิน (remittance advice)ซึ่งเป็นหลักฐานในการชำระหนี้ตามใบแจ้งหนี้มายัง กิจการ พนักงานจะรวบรวมเช็ค และใบนำส่งเงินมา ตรวจสอบความถูกต้องก่อนจัดทำรายงานการรับชำระเงิน ประจำวัน

รับชำระเงินจากลูกค้า ต่อมาจะนำข้อมูลที่ปรากฏในเช็คและใบนำส่งเงิน ป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทีละรายการ พร้อมกับการบันทึก ข้อมูลจากรายงานการรับชำระเงินประจำวันเพื่อให้ โปรแกรมการตรวจสอบ ทำการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลนำเข้าก่อนที่จะปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวลงใน แฟ้มข้อมูลใบแจ้งหนี้ แฟ้มข้อมูลหลักของลูกค้า แฟ้มข้อมูลการรับเงิน แฟ้มข้อมูลหลักของบัญชีแยกประเภททั่วไป แฟ้มข้อมูลบันทึกการเพิ่ม-ลดของบัญชีลูกหนี้

จบแล้วครับ ส่วนที่ 9