Center for International Trade Studies – University of the Thai Chamber of Commerce บทวิเคราะห์ “การแข่งขันสินค้าไทยและอาเซียน ในตลาดจีนในอีก 5 ปี ข้างหน้า”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
Advertisements

ASEAN ประชากร 10 ประเทศ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซ๊ย พม่า ฟิลปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย มี 600 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 9 ของประชากรโลก และเท่ากับครี่งหนึ่งของอินเดีย.
ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ผลกระทบต่อการส่งออกไทย จากภัยหายนะธรรมชาติของญี่ปุ่น
“ประเมิน 1 ปี อาเซียน-จีน”
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังโลก
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 39.09% สพฉ % สวรส %
การลดภาษีของออสเตรเลีย
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
แนวทาง การเจาะตลาดอินเดีย
การแจกแจงปกติ.
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ส่งสัญญาณ ผิดปกติ อุตสาหกรรมเส้นด้ายจากฝ้าย ส่งสัญญาณ ผิดปกติ ภาวะอุตสาหกรรมผ้าผืนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ส่งสัญญาณ ผิดปกติ
โดย ดร. นิวัตร ตันตยา นุสรณ์
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 65.87% สพฉ % สวรส %
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
งานนำเสนอ “ค่าจ้างและสถานะทั่วไปของแรงงานจากทุกภาคส่วนอุตสาหกรรมในประเทศไทย” นำเสนอโดย วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
สถานีวนวัฒนวิจัยแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
การลงข้อมูลแผนการสอน
เด็กชาย รัฐติพงศ์ คงจันทร์ ม.2/11 เลขที่ 15 ชิ้นงานที่8
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
วาระที่ 3.3 รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 4 เดือนแรก ปี 2556.
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Center for International Trade Studies – University of the Thai Chamber of Commerce บทวิเคราะห์ “การแข่งขันสินค้าไทยและอาเซียน ในตลาดจีนในอีก 5 ปี ข้างหน้า” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 25 พฤศจิกายน 2557

X = อัตราภาษีที่เก็บจริง อัตราภาษี X ≥ 20% % ≤ x < 20% % ≤ x < 15% % ≤ x < 10%5500 X ≤ 5%คงอัตราภาษีที่เก็บจริง00 กรอบการลดภาษีสินค้าปกติ ของอาเซียน 6 ละจีน  การเปิดเสรีการค้าสินค้าทั่วไป ได้จัดทำความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า (Agreement on Trade in Goods) ในส่วนสินค้าปกติ เริ่มลดภาษีตั้งแต่ กรกฎาคม 2548 และลดลงเหลือ 0% ภายในปี 2553

กรอบการลดภาษีสินค้าปกติ ของเวียดนาม X = อัตราภาษีที่ เก็บจริง อัตราภาษี X > 60% % ≤ X < 60% % ≤ X < 45% % ≤ X < 35% % ≤ X < 30% % ≤ X < 25% % ≤ X < 20% % ≤ X < 15% % ≤ X < 10% % ≤ X < 7% X ≤ 5%คงอัตราภาษีที่เก็บจริง0

กรอบการลดภาษีสินค้าปกติ ของกัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ X = อัตราภาษีที่ เก็บจริง อัตราภาษี X > 60% % ≤ X < 60% % ≤ X < 45% % ≤ X < 35% % ≤ X < 30% % ≤ X < 25% % ≤ X < 20% % ≤ X < 15% % ≤ X < 10%7* % ≤ X < 7% X ≤ 5%คงอัตราภาษีที่เก็บจริง0 * เมียนมาร์คงอัตราภาษีไม่สูงกว่า 7.5% จนถึงปี 2553

มูลค่าการส่งออก นำเข้า และดุลการค้าของ อาเซียนในตลาดจีน  หลังจากเริ่มลดภาษี ( ) อัตราการเติบโตทางการค้าระหว่างอาเซียนและจีนเพิ่มขึ้นมากกว่าช่วงก่อนลดภาษี ( )  หลังภาษีเป็น 0 ( ) แม้มูลค่าการค้าจะเพิ่มขึ้นแต่อัตราการเติบโตทางการค้าต่ำกว่าช่วงลดภาษี  ช่วงลดภาษีประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ดุลการค้ากับจีน แต่หลังภาษีเป็น 0 ประเทศในกลุ่มอาเซียนเริ่มขาดดุลการค้ากับจีนเพิ่มมากขึ้น  คาดว่าอีก 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศในกลุ่มอาเซียนอาจขาดดุลการค้ากับจีนไม่ต่ำกว่า 30,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯหรือ 975,000 ล้านบาทต่อปี (อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจจีนใน 5 ปี ข้างหน้ามีแนวโน้มชะลอตัว โดย IMF คาดว่า ขยายตัวเฉลี่ย ร้อยละ 6.6 ขณะที่ช่วงหลังภาษีเป็น 0 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 8.5 ส่งผลให้การค้ากับอาเซียนชะลอตัวลง) ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ช่วงก่อนลดภาษี ส่งออกขยายตัวร้อยละ 18.8 นำเข้าขยายตัวร้อยละ 13.6 ช่วงการลดภาษี ส่งออกขยายตัวร้อยละ 20.4 นำเข้าขยายตัวร้อยละ 24.9 ช่วงหลังภาษี เป็น ส่งออกขยายตัว ร้อยละ 14.9 นำเข้าขยายตัว ร้อยละ 19.8 ช่วง 5 ปี ข้างหน้า ส่งออกขยายตัวร้อยละ 9.7 นำเข้าขยายตัวร้อยละ 7.4 ส่งออกปี ,346 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 5.0 ล้านล้านบาท นำเข้าปี ,235 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 4.4 ล้านล้านบาท ส่งออกปี ,250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 10.7 ล้านล้านบาท นำเข้าปี ,698 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 12.0 ล้านล้านบาท

มูลค่าการส่งออกสินค้าเฉลี่ยต่อปีของประเทศต่างๆ ใน อาเซียนไปตลาดจีนใน 5 ปี ข้างหน้า  มาเลเซียเป็นประเทศที่มีมูลค่าการส่งออก สินค้าไปตลาดจีนมากที่สุดในกลุ่มอาเซียน รวมทั้งมีมูลค่าการค้าที่เพิ่มขึ้นในช่วงหลังภาษี เป็น 0 และอีก 5 ปีข้างหน้า มากที่สุดในอาเซียน  ไทยมีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0 เป็นอันดับ 2 รองจากมาเลเซีย แต่ในอีก 5 ปี ข้างหน้า มีมูลค่าการส่งออกที่เพิ่มขึ้นเป็นอันดับ 4 รองจาก มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ตามลำดับ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มูลค่าการส่งออกที่เพิ่มขึ้น หลังภาษีเป็น0 ( ) (ล้านดอลลาร์) มูลค่าการส่งออกที่เพิ่มขึ้น ใน 5 ปี ข้างหน้า ( ) (ล้านดอลลาร์) ไทย27,349 ( (2)15,107 (4) มาเลเซีย44,235 (1)16,900 (1) อินโดนีเซีย21,957 (3)15,994 (2) สิงคโปร์18,178 (4)12,965 (5) ฟิลิปปินส์11,2749,328 บรูไน22848 เวียดนาม12,404 (5)15,589 (3) เมียนมาร์3,5578,767 กัมพูชา ลาว1,0393,007 รวม140,45798,096

สัดส่วนการส่งออกของประเทศในกลุ่มอาเซียน ไปตลาดจีน  มาเลเซียยังเป็นประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดจีน มากที่สุดในกลุ่มอาเซียน  ไทยมีส่วนแบ่งตลาดในจีนสูงขึ้นหลังภาษีเป็น 0 แต่ใน 5 ปีข้างหน้า ( ) คาดว่าส่วน แบ่งตลาดจะลดลง จากการแย่งส่วนแบ่งตลาด ของประเทศในกลุ่ม CLMV 5 ปีข้างหน้า ( ) ส่วนแบ่งตลาด ของไทยหายไป 1.0% จากก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หรือมีมูลค่าการส่งออกหายไป เฉลี่ย 3,629.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 117,954 ล้านบาทต่อปี ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มูลค่าการนำเข้าสินค้าเฉลี่ยต่อปีของประเทศต่างๆ ใน อาเซียนจากจีนใน 5 ปี ข้างหน้า มูลค่าการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น หลังภาษีเป็น0 ( ) (ล้านดอลลาร์) มูลค่าการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น ใน 5 ปี ข้างหน้า ( ) (ล้านดอลลาร์) ไทย22,906 (5)15,627 (3) มาเลเซีย28,368 (2)26,796 (2) อินโดนีเซีย26,208 (4)14,976 (4) สิงคโปร์27,246 (3)12,384 (5) ฟิลิปปินส์13,3769,459 บรูไน1,1101,416 เวียดนาม33,368 (1)36,981 (1) เมียนมาร์5,0374,848 กัมพูชา2,3562,000 ลาว1,1152,815 รวม161,090120,070  หลังภาษีเป็น 0 สิงคโปร์เป็นประเทศที่มูลค่าการ นำเข้าสินค้าจากจีนมากสุดในอาเซียน  อีก 5 ปี ข้างหน้า คาดว่าเวียดนามจะเป็น ประเทศที่มูลค่าการนำเข้าสินค้าจากจีนมากสุดใน อาเซียน  เวียดนามเป็นประเทศที่มีมูลค่าการนำเข้าที่ เพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0 และอีก 5 ปีข้างหน้ามาก ที่สุด  ไทยมีมูลค่าการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0 เป็นอันดับ 5 ในกลุ่มอาเซียน แต่ในอีก 5 ปี ข้างหน้าอยู่ในอันดับ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

สัดส่วนการนำเข้าของประเทศในกลุ่มอาเซียน จากตลาดจีน  ปัจจุบันสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีสัดส่วนการพึงพาการ นำเข้าสินค้าจากจีนมากที่สุดในอาเซียน  อีก 5 ปี ข้างหน้า ( ) คาดว่าเวียดนามจะเป็น ประเทศที่มีสัดส่วนการพึ่งพาสินค้าจากจีนมากที่สุดใน อาเซียนเนื่องจากมีสัดส่วนการนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  คาดว่า 5 ปี ข้างหน้า ( ) ไทยจะมีการนำเข้า จากจีนมากขึ้นแต่มีสัดส่วนการนำเข้าลดลง เนื่องจาก เวียดนามมีมูลค่าการนำเข้าจากจีนเพิ่มขึ้น 5 ปีข้างหน้า ( ) สัดส่วนการนำเข้าของ ไทยเพิ่มขึ้น 0.3% จากก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หรือมีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย1,059 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 34,416 ล้านบาท ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

สัดส่วนการนำเข้าของประเทศในกลุ่มอาเซียน จากตลาดจีน  ประเทศที่คาดว่าจะเกินดุลการค้ากับจีนใน 5 ปีข้างหน้า ( ) ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เมียนมาร์ และลาว  ประเทศที่คาดว่าขาดดุลการค้ากับจีน ใน 5 ปี ข้างหน้า ( ) ได้แก่ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม และกัมพูชา  ประเทศที่คาดว่าจะขาดดุลการค้ากับจีนมากที่สุดคือ เวียดนาม  5 ปีข้างหน้าไทยเกิดดุลกับจีนลดลง โดยเกินดุลกับจีนเท่ากับ 8,423 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 273,749 ล้านบาท ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ผลการศึกษาในส่วนนี้เป็นการศึกษาถึงการแข่งขันของไทยและประเทศต่างๆ ใน อาเซียน ในการส่งออกสินค้าต่างๆ ไปตลาดจีน โดยพิจารณาจากส่วนแบ่งตลาดในช่วงเวลาก่อน ภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) และใน 5 ปีข้างหน้า ( ) ว่า ส่วนแบ่งตลาดของประเทศต่างๆจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร สำหรับสินค้าที่นำมาศึกษา ประกอบด้วย 14 รายการดังนี้  ข้าวสาร  มันสำปะหลัง  ผลไม้  สัตว์น้ำ  อาหารแปรรูป  ยางและผลิตภัณฑ์ยาง  พลาสติกและผลิตภัณฑ์พลาสติก  ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้  กระดาษ  เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์  สิ่งทอ  เครื่องแต่งกาย  รองเท้า  อัญมณี

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทยเวียดนาม คู่แข่งสำคัญของไทยเวียดนาม เวียดนาม/กัมพูชา/เมียนมาร์ สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (9,607 ล้านบาท) (14,654 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ เวียดนามและกัมพูชา ที่มีส่วน แบ่งตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้าข้าวสาร  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะลดลง เนื่องจากกัมพูชาเข้ามาแย่ง ส่วนแบ่งตลาด  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทย คู่แข่งสำคัญของไทยเวียดนาม/อินโดนีเซียเวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-ได้ประโยชน์ได้ประโยชน์มากขึ้น มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (9,204 ล้านบาท)447.3 (14,537 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย กัมพูชา และลาว ที่มี ส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า มันสำปะหลัง  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับ ในช่วงปี เฉลี่ยปี ละ ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะเพิ่มขึ้น เล็กน้อย โดยแย่งส่วนแบ่ง ตลาดมาจากอินโดนีเซีย  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับ ในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยปีละ ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทย คู่แข่งสำคัญของไทยฟิลิปปินส์/เวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-ได้ประโยชน์ได้ประโยชน์มากขึ้น มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (7,329 ล้านบาท)525.6 (17,082 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย เวียดนาม และกัมพูชาที่มี ส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า ผลไม้  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับ ในช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะเพิ่มขึ้น โดย แย่งส่วนแบ่งตลาดมาจาก ฟิลิปปินส์ มาเลเซียและ อินโดนีเซีย  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับ ในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยปีละ ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทย อินโดนีเซีย คู่แข่งสำคัญของไทยอินโดนีเซีย/เวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (722 ล้านบาท)-95.1 (3,091 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ เวียดนามที่มีส่วนแบ่งตลาด เพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า สัตว์น้ำแช่เย็นแช่แข็ง  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ 22.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะลดลง โดย เสียส่วนแบ่งตลาดให้ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ เวียดนาม  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5 ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ 95.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดมาเลเซีย อินโดนีเซีย คู่แข่งสำคัญของไทยมาเลเซีย/อินโดนีเซีย สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เท่าเดิมได้ประโยชน์ มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (16,268 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาวและกัมพูชาที่มีส่วนแบ่ง ตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า อาหารแปรรูป  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะเพิ่มขึ้น โดยแย่งส่วนแบ่งตลาดมา จาก มาเลเซีย  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับ ในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยปีละ ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทย คู่แข่งสำคัญของไทยมาเลเซีย/อินโดนีเซีย สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียประโยชน์ได้ประโยชน์ มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (5,447 ล้านบาท)566.8 (18,421 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร์ และลาว ทีส่วนแบ่ง ตลาดเพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า ยางในช่วงปี หลังจากนั้นกลับมาได้ประโยชน์ หลังปี 2555  มูลค่าความเสียงหายที่ได้รับ ในช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะเพิ่มขึ้น โดย แย่งส่วนแบ่งตลาดมาจาก อินโดนีเซีย และมาเลเซีย  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดสิงคโปร์ไทยสิงคโปร์ คู่แข่งสำคัญของไทยมาเลเซีย/สิงคโปร์ สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-ได้ประโยชน์ได้ประโยชน์ลดลง มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (11,630 ล้านบาท)37.2 (1,209 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม เมียน มาร์ และ กัมพูชาทีส่วนแบ่ง ตลาดเพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0  ไทยได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า พลาสติกในช่วงปี แต่ส่วนแบ่งตลาดมีแนวโน้ม ลดลงตั้งแต่ปี 2554  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง ปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะลดลง โดย เสียส่วนแบ่งตลาดให้สิงคโปร์  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเหลือเฉลี่ยปี ละ 37.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดมาเลเซียไทย คู่แข่งสำคัญของไทยมาเลเซีย/อินโดนีเซียอินโดนีเซีย/เวียดนาม /เมียนมาร์ กัมพูชา สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-ได้ประโยชน์ได้ประโยชน์ลดลง มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (18,706 ล้านบาท)47.4 (1,541 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ ไทย เวียดนาม เมียนมาร์ และ ลาวที ส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้นหลังภาษี เป็น 0  ไทยได้ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า ไม้ในช่วงปี แต่ ส่วนแบ่งตลาดมีแนวโน้มลดลง  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง ปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะลดลง โดย เสียส่วนแบ่งตลาดให้เวียดนาม เมียนมาร์ และ ลาว  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยเหลือ ปีละ ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดอินโดนีเซีย คู่แข่งสำคัญของไทยอินโดนีเซียมอินโดนีเซีย/สิงคโปร์ สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายลดลง มูลค่าความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (3,615 ล้านบาท) (3,351 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จากจาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ สิงคโปร์ เวียดนามทีส่วนแบ่ง ตลาดเพิ่มขึ้นหลังภาษีเป็น 0  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า กระดาษในช่วงปี  มูลค่าความเสียงหายที่ได้รับ ในช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะสูงกว่า ค่าเฉลี่ยในช่วงปี เล็กน้อย  มูลค่าความเสียหายที่ได้รับ ในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยปีละ103.1ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดสิงคโปร์มาเลเซีย คู่แข่งสำคัญของไทยมาเลเซีย/สิงคโปร์ /ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย/สิงคโปร์/ ฟิลิปปินส์/เวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-ได้ประโยชน์เสียประโยชน์ มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (14,107 ล้านบาท)-6,114.9 (198,734 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ มาเลเซีย เวียดนาม และ กัมพูชาทีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น หลังภาษีเป็น 0  ไทยส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าไป จีนมากที่สุด และได้ประโยชน์ จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า เครื่องใช้ไฟฟ้าในช่วงปี แต่ส่วนแบ่งตลาดมี แนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2553  มูลค่าประโยชน์ที่ได้รับในช่วง ปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วนแบ่ง ตลาดของไทยจะลดลง โดย เสียส่วนแบ่งตลาดให้เวียดนาม  มูลค่าความเสียหายที่ได้รับ ในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่า เฉลี่ยปีละ 6,114.9 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทยเวียดนาม คู่แข่งสำคัญของไทยอินโดนีเซียอินโดนีเซีย/เวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (6,978 ล้านบาท) (17,534 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ เวียดนามที่มีส่วนแบ่งตลาด เพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า สิ่งทอ  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะลดลง โดยเสียส่วนแบ่งตลาดให้ เวียดนาม  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดเวียดนาม คู่แข่งสำคัญของไทย อินโดนีเซีย/ เวียดนาม/ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย/เวียดนาม/ กัมพูชา สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (490 ล้านบาท) (5,002 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ เวียดนาม กัมพูชา และเมียน มาร์ที่มีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า เครื่องแต่งกาย  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ 15.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะลดลง โดยเสียส่วนแบ่งตลาดให้ เวียดนาม  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ 153.9ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดเวียดนาม คู่แข่งสำคัญของไทยอินโดนีเซีย/เวียดนาม สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (2,705 ล้านบาท) (4,154 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ เวียดนาม กัมพูชา และลาวที่ มีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า รองเท้า  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ 83.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะลดลง โดยเสียส่วนแบ่งตลาดให้ เวียดนาม  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รายการก่อนภาษีเป็น 0 ( ) หลังภาษีเป็น 0 ( ) 5 ปี ข้างหน้า ( ) ประเทศที่มีส่วนแบ่งตลาดไนจีนมากที่สุดไทยเมียนมาร์ คู่แข่งสำคัญของไทยเมียนมาร์/สิงคโปร์เมียนมาร์ สรุปส่วนแบ่งตลาดเฉลี่ยของไทย (%) ไทยได้/เสีย ประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีน-เสียหายเสียหายมากขึ้น มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (4,823 ล้านบาท) (25,695 ล้านบาท)  ประเทศที่ได้ประโยชน์จาก จาก FTA อาเซียน-จีน ได้แก่ เมียนมาร์ที่มีส่วนแบ่งตลาด เพิ่มขึ้น  ไทยเสียประโยชน์จาก FTA อาเซียน-จีนในสินค้า อัญมณี  มูลค่าความเสียหายช่วงปี เฉลี่ยปีละ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ  5 ปีข้างหน้าคาดว่าส่วน แบ่งตลาดของไทยจะลดลง โดยเสียส่วนแบ่งตลาดให้ เมียนมาร์  มูลค่าความเสียหายในช่วง 5ปี ข้างหน้าคาดว่าเฉลี่ยปีละ 790.6ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

สินค้า มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) สถานะใน5ปีข้างหน้า หลังภาษีเป็น 0 ( )5 ปี ข้างหน้า ( ) ข้าวสาร (-9,607 ล้านบาท) (-14,654ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น มันสำปะหลัง (9,204 ล้านบาท)447.3 (14,537 ล้านบาท)ได้ประโยชน์มากขึ้น ผลไม้ (7,329 ล้านบาท)525.6 (17,082 ล้านบาท)ได้ประโยชน์มากขึ้น สัตว์น้ำ (-722 ล้านบาท)-95.1 (-3,091 ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น อาหารแปรรูป (16,266 ล้านบาท)ได้ประโยชน์มากขึ้น ยางและผลิตภัณฑ์ยาง (5,447ล้านบาท)566.8 (18,421 ล้านบาท)ได้ประโยชน์ พลาสติกและผลิตภัณฑ์พลาสติก (11,629 ล้านบาท)37.2 (1,209 ล้านบาท)ได้ประโยชน์ลดลง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (18,704ล้านบาท)47.4 (1,541ล้านบาท)ได้ประโยชน์ลดลง กระดาษ (3,614 ล้านบาท) (3,351ล้านบาท)เสียหายลดลง เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (14,108 ล้านบาท)-6,114.9 (198,734 ล้านบาท)เสียหาย สิ่งทอ (-6,978 ล้านบาท) (-17,534 ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น เครื่องแต่งกาย (-491ล้านบาท) (-5,002 ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น รองเท้า (-2,704 ล้านบาท) (-4,154ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น อัญมณี (-4,820 ล้านบาท) (-25,695 ล้านบาท)เสียหายมากขึ้น รวม 14 สินค้า (26,592 ล้านบาท)-6,251.0 (-203,158 ล้านบาท)เสียหาย สินค้าอื่นๆ1,039.5 (33,784 ล้านบาท)2,621.7 (85,204 ล้านบาท)ได้ประโยชน์มากขึ้น รวมทั้งหมด1,857.7 (60,375ล้านบาท)-3,629.3(-117,954 ล้านบาท)เสียหาย หมายเหตุ : มูลค่าประโยชน์/ความเสียหายที่ได้รับเฉลี่ยต่อปีของช่วงหลังลดภาษีเป็น 0 เป็นผลจากการเปรียบเทียบก่อนภาษี เป็น 0 และหลังภาษีเป็น 0 ส่วนช่วง 5 ปีข้างหน้าเป็นการเปรียบเทียบระหว่างช่วง 5 ปี ข้างหน้ากับช่วงก่อนภาษีเป็น 0 ที่มา : ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

1.ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค และรสนิยมรายตามมณฑล และรายสินค้า 2.ตั้งศูนย์กระจายสินค้าไทยตามเมืองสำคัญของจีน 3.รักษาและให้ความสำคัญกับมาตรฐานสินค้าไทยและตราสินค้าของ ไทย 4.ปรับรูปแบบการทำตลาดเชิงลึก เช่น แผ่นพับประชาสัมพันธ์ การให้ ข้อมูลถึงผู้บริโภคจีน

Center for International Trade Studies – University of the Thai Chamber of Commerce ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 106/14 ถ.วิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ โทรศัพท์: , 6353 โทรสาร: