งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

2 กรอบความร่วมมือต่างๆ
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2558 2561 อาเซียน-จีน (ACFTA) ภาษี 0% ผักผลไม้ (พิกัด 07-08) ลงนามความตกลงฯ ภาษี 0% (Early Harvest (พิกัด 01-08)) ภาษี 0% (>90%) อาเซียน -ญี่ปุ่น (AJCEP) ลงนามความตกลงฯ, บรูไน ลาว พม่า สิงคโปร์ เวียดนาม (มีผลบังคับใช้ธันวาคม 2551), ภาษี 0% ไทย (มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2552), อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (AKFTA) ลงนามความตกลงฯ, มีผลบังคับใช้กับเกาหลีและอาเซียน 9 (ยกเว้นไทย) เริ่มภาษี 0% มีผลบังคับใช้กับเกาหลีและอาเซียน 9 (ยกเว้นไทย), ไทยลงนามพิธีสารเข้าเป็นภาคี มีผลบังคับใช้กับไทย, AEC ASEAN 6 ภาษี 0% CLMV ภาษี 0-5% ASEAN+3 ลงนามในปฏิญญา แผนงานความร่วมมืออาเซียน+3 ( )

3 ASEAN+3 กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN+3) เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศนอกกลุ่ม 3 ประเทศ คือ จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian Community) โดยให้อาเซียนและกระบวนการต่างๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียน+3

4 ภาวะเศรษฐกิจจีน-ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้-อาเซียน ปี 2013
จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อาเซียน* GDP (พันล้านเหรียญสหรัฐ) 9,181.4 4,901.5 1,221.8 2,318.2 รายได้ประชากรต่อหัว (ดอลลาร์สหรัฐ) 6,747.2 38,491.4 24,329.0 3,756.1 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย (%การเปลี่ยนแปลง) 2.6 0.4 1.3 3.4** อัตราการว่างงาน (%) 4.1 4.0 3.1 3.07** จำนวนประชากร (ล้านคน) 1,360.8 127.3 50.2 610 ไทยมีสัดส่วน 15% ของ GDP อาเซียน และ GDP อินโดนีเซียมีสัดส่วน 38% ของ GDP อาเซียน ที่มา: IMF (International Monetary Fund) Association of Southeast Asian Nations ( 2014 หมายเหตุ: *ข้อมูลปี 2012 ** ค่าเฉลี่ยของ 10 ประเทศในอาเซียน

5 วิเคราะห์การส่งออก นำเข้า และดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าตลาดส่งออกทั้งสาม 436,831 หรือ 14 ล้านล้านบาท ตลาดจีนคิดเป็น 55% มูลค่าการค้ารวม 442,707 มูลค่าการค้ารวม 228,763 มูลค่าการค้ารวม 135,336 มูลค่ารวม 26 ล้านล้านบาท ตลาดจีน 55% ดุลการค้า ส่งออก นำเข้า

6 วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปจีน (รายประเทศ)
สิงคโปร์ ส่งออกไปจีนมากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ มาเลเซีย และไทย เมียนมาร์ มีอัตราการขยายตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2555/2556

7 วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากจีน (รายประเทศ)
เวียดนาม นำเข้าจากจีนมากที่สุดในอาเซียน รองลงมา คือ สิงคโปร์ และไทย

8 วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างจีนกับอาเซียน (รายประเทศ)
ประเทศไทยขาดดุลการค้ากับจีนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี 56 สามแสนห้าหมื่นล้าน หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ขาดดุลการค้ากับจีนมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี กัมพูชา ได้ดุลการค้าจากจีนมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี

9 วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปญี่ปุ่น (รายประเทศ)
อินโดนีเซีย ส่งออกไปญี่ปุ่นมากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ มาเลเซีย และไทย

10 วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากญี่ปุ่น (รายประเทศ)
ไทย นำเข้าจากญี่ปุ่นมากที่สุด รองลงมา คือ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย

11 วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่น (รายประเทศ)
หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย สิงคโปร์ ขาดดุลการค้ากับญี่ปุ่นมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ได้ดุลการค้าจากญี่ปุ่นมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี

12 วิเคราะห์การส่งออกของอาเซียนไปเกาหลีใต้ (รายประเทศ)
สิงคโปร์ ส่งออกไปเกาหลีใต้มากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ อินโดนีเซีย มาเลเซียเวียดนาม และไทยส่งออกไปเกาหลีใต้เป็นอันดับที่ 5

13 วิเคราะห์การนำเข้าของอาเซียนจากเกาหลีใต้ (รายประเทศ)
สิงคโปร์ นำเข้าจากเกาหลีใต้มากที่สุดในอาเซียนรองลงมา คือ เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทยส่งออกไปเกาหลีใต้เป็นอันดับที่ 5

14 วิเคราะห์ดุลการค้าระหว่างอาเซียนกับเกาหลีใต้ (รายประเทศ)
หมายเหตุ: เครื่องหมายลบ หมายถึง ขาดดุลการค้า ไม่มีเครื่องหมาย หมายถึง ได้ดุลการค้า ไทย เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ กัมพูชา และฟิลิปปินส์ ขาดดุลการค้าจากเกาหลีใต้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี

15 ตลาดจีน

16 สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าในตลาดจีน
รายการสินค้า ปี ปี หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 2 ส่วนแบ่งตลาดอันดับ 3 1 ข้าว ไทย เวียดนาม - กัมพูชา เวียดนามแย่งตลาดจากไทย 2 ยางพารา มาเลเซีย อินโดเชีย 1. ไทยครองตลาดอันดับ 1 2. ปี ส่วนแบ่งตลาดไทยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 48.2 เป็นร้อยละ 54.3 3 น้ำมันปาล์มดิบ ฟิลิปปินส์ 1. อินโด ครองตลาดอันดับ 1 2. อินโดฯ ดึงส่วนแบ่งตลาดจากมาเลฯ และไทย 3. ปี อินโดฯ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 57.1 เป็นร้อยละ 72.4 4 ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ ไทย,อินโดนีเซีย 1. ส่วนแบ่งตลาดของสิงคโปร์ และ มาเลเซียลดลง 2. ส่วนแบ่งตลาดของ ไทยและอินโดนีเซีย เพิ่มขึ้น 5 ผลิตภัณฑ์ไม้ อินโดนีเซีย มาเล เสียส่วนแบ่งตลาดให้ ไทย เวียดนาม และอินโดนีเซีย 6 เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย 1. เวียดนามครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 2. ไทยเสียตลาดให้อินโดฯและกัมพูชา 7 เครื่องใช้ไฟฟ้า 2. ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดมาจากฟิลิปปินส์ 8 ยางและผลิตภัณฑ์ ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลง

17 สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดจีน หลัง ASEAN+3 (2554-2556)
ประเทศครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว เวียดนาม ไทย 61.5 เวียดนาม (60.5%), กัมพูชา (1.0%) 107,460,431.9 (เวียดนาม 105,713,107.8) (กัมพูชา 1,747,324.1) ยางพารา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ 9.4 ไทย (6.1%), เวียดนาม(2.2%) เมียนมาร์ (0.6%) ลาว (0.4%) กัมพูชา (0.1%) 117,383,819.4 (ไทย 76,174,606.2) (เวียดนาม 27,472,808.8) (เมียนมาร์ 7,492,584.2) (ลาว 4,995,056.1) (กัมพูชา 1,248,764.0) น้ำมันปาล์มดิบ อินโดนีเซีย ไทย และมาเลเซีย 15.9 อินโดนีเซีย (15.3%), ฟิลิปปินส์ (0.6%) 2,888,581.5 (อินโดนีเซีย 2,779,578.4) (ฟิลิปปินส์ 109,003.1) ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ 11.2 ไทย (3.7%), อินโดนีเซีย (3.7%), เวียดนาม(2.4%), ฟิลิปปินส์ (1.4%) 18,783,379.6 ไทย (6,205,223.6) อินโดนีเซีย (6,205,223.6) เวียดนาม(4,025,009.9) ฟิลิปปินส์ (2,347,922.5) ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซียและเมียนมาร์ 17.7 ไทย (1.7%), อินโดนีเซีย (2.5%), เวียดนาม(8.0%), ลาว (4.8%) กัมพูชา (0.3%),ฟิลิปปินส์ (0.4%) 718,555,022.3 ไทย (69,013,759.2) อินโดนีเซีย (101,490,822.4) เวียดนาม(324,770,631.6) (ลาว 194,862,378.9) (กัมพูชา 12,178,898.7) ฟิลิปปินส์ (16,238,531.6) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาวและฟิลิปปินส์ 21.4 อินโดนีเซีย (0.9%), เวียดนาม(12.0%), เมียนมาร์ (2.3%) ,กัมพูชา (6.2%) 12,355,568.2 (อินโดนีเซีย 519,626.70) (เวียดนาม6,928, (เมียนมาร์ 1,327,934.90) (กัมพูชา 3,579,650.59) เครื่องใช้ไฟฟ้า มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 13.8 มาเลเซีย (8.3%) ,เวียดนาม(5.5%) 1,908,417,889.93 (มาเลเซีย 1,147,816,556.99) ,เวียดนาม760,601,332.94) ยางและผลิตภัณฑ์ อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 4.7 ไทย (4.1%), มาเลเซีย (0.3%), เมียนมาร์ (0.1%), กัมพูชา (0.2%) 10,201,215.8 (ไทย 8,898,933.0), (มาเลเซีย 651,141.4), เมียนมาร์ (217,047.1), (กัมพูชา 434,094.3) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี (หลัง ASEAN+3)

18 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 96.5 35.0 มาเลเซีย 0.0 - อินโดนีเซีย เวียดนาม 3.5 64.0 เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา 1.0 ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100.0 เวียดนาม แย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทยในตลาดจีน ในช่วงปี ทำให้เวียดนามครองตำแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่ง ในตลาดจีน (เวียดนาม: ร้อยละ 64 ,ไทย: ร้อยละ 35) ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

19 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 48.2 54.3 มาเลเซีย 22.9 15.7 อินโดนีเซีย 22.2 20.1 เวียดนาม 4.7 6.9 เมียนมาร์ 1.0 1.6 สิงคโปร์ 0.0 ลาว 0.4 0.8 กัมพูชา 0.5 ฟิลิปปินส์ 0.2 0.1 บรูไน - ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี ไทยเป็นผู้ส่งออกยางพาราอันดับ 1 ในตลาดจีน

20 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 1.9 0.0 มาเลเซีย 40.6 26.6 อินโดนีเซีย 57.1 72.4 เวียดนาม - เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 0.4 1.0 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

21 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 17.6 21.3 มาเลเซีย 22.8 20.3 อินโดนีเซีย เวียดนาม 2.5 4.9 เมียนมาร์ 0.0 - สิงคโปร์ 36.3 27.8 ลาว กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 3.0 4.4 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี ไทยครองส่วนตลาดเพิ่มขึ้นในปี จากร้อยละ 17.6 เป็นร้อยละ 21.3 ขณะที่สิงคโปร์ มีส่วนตลาดลดลงเหลือ 27.8

22 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 26.3 28.0 มาเลเซีย 23.6 8.9 อินโดนีเซีย 14.4 16.9 เวียดนาม 15.6 23.7 เมียนมาร์ 13.7 10.7 สิงคโปร์ 0.0 ลาว 3.2 8.0 กัมพูชา 1.0 1.3 ฟิลิปปินส์ 2.1 2.5 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

23 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 24.9 13.3 มาเลเซีย 8.3 3.3 อินโดนีเซีย 19.3 20.2 เวียดนาม 30.0 42.0 เมียนมาร์ 0.6 3.0 สิงคโปร์ 1.1 0.3 ลาว 0.5 0.1 กัมพูชา 7.7 14.0 ฟิลิปปินส์ 7.6 4.0 บรูไน 0.0 ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

24 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 22.3 18.0 มาเลเซีย 34.4 42.7 อินโดนีเซีย 3.0 2.2 เวียดนาม 1.4 6.9 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 15.9 15.0 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 22.9 15.1 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

25 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปจีน (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 42.9 47.0 มาเลเซีย 39.3 39.6 อินโดนีเซีย 9.1 8.2 เวียดนาม 4.9 2.3 เมียนมาร์ 0.0 0.1 สิงคโปร์ 2.7 1.8 ลาว กัมพูชา 0.2 ฟิลิปปินส์ 1.0 0.9 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

26 ตลาดญี่ปุ่น

27 สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าใน ตลาดญี่ปุ่น
รายการสินค้า ปี ปี หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาด 1 2 3 ข้าว ไทย เวียดนาม - เมียนมาร์ 1. ไทยครองตลาดอันดับ 1 2. ปี ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดจากเวียดนาม ยางพารา อินโดนีเซีย มาเลเซีย 1. อินโด ครองตลาดอันดับ 1 2. ปี อินโดแย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทย น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซียครองตลาดญี่ปุ่น 100% ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลง ผลิตภัณฑ์ไม้ ฟิลิปปินส์ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ปี อินโดฯ ส่วนตลาดเพิ่มขึ้น ทำให้ส่วนแบ่งตลาดของไทยตกเป็นอันดับ 3 เครื่องใช้ไฟฟ้า ยางและผลิตภัณฑ์

28 สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดญี่ปุ่นหลัง ASEAN+3 (2554-2556)
ประเทศที่ครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว ไทย เวียดนาม 9.4 ไทย (8.8%) และเมียนมาร์ (0.6%) 472,408.4 (ไทย 442,254.6) (เมียนมาร์ 30,153.7) ยางพารา อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย และเวียดนาม 5.5 อินโดนีเซีย (5.5%) 59,641,320 (อินโดนีเซีย) น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซีย - ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 7.5 ไทย (7.5%) 26,262,293.3 (ไทย) ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร์ และสิงคโปร์ 10.7 ไทย (0.6%) เวียดนาม (4.0%) ลาว (0.1%) ฟิลิปปินส์ (6.0%) 138,637,450.3 (ไทย 7,774,062.6) (เวียดนาม 51,827,084.2) (ลาว 1,295,677.1) (ฟิลิปปินส์ 77,740,626.3) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ 10 อินโดนีเซีย (4.8%) เมียนมาร์ (2.0%) ลาว (0.3%) และกัมพูชา (2.9%) 85,179,442 (อินโดนีเซีย 40,886,132.2) (เมียนมาร์ 17,035,888.4) (ลาว2,555,383.3) (กัมพูชา 24,702,038.2) เครื่องใช้ไฟฟ้า ไทย และสิงคโปร์ 3.2 มาเลเซีย (0.2%) อินโดนีเซีย (0.1%) เวียดนาม (2.8%) และกัมพูชา (0.1%) 100,904,388 (มาเลเซีย 6,306,524.2 ) (อินโดนีเซีย 3,153,262.1) (เวียดนาม 88,291,339.5 ) (กัมพูชา 3,153,262.1) ยางและผลิตภัณฑ์ ไทย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ 7.0 มาเลเซีย (3.9%) เวียดนาม (2.6%) ฟิลิปปินส์ (0.5%) 19,053,448.2 (มาเลเซีย 1,061,5492.) (เวียดนาม 7,076,995 ) (ฟิลิปปินส์ 1,360,960.6) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี (หลัง ASEAN+3)

29 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 87.1 95.9 มาเลเซีย 0.0 อินโดนีเซีย - เวียดนาม 12.9 3.5 เมียนมาร์ 0.6 สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100.0 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี ไทยครองส่วนแบ่งตลาดข้าวเป็นอันดับ 1 ในตลาดญี่ปุ่น รองลงมา คือ เวียดนาม

30 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 47.9 43.0 มาเลเซีย 1.4 0.9 อินโดนีเซีย 49.4 54.8 เวียดนาม 1.3 เมียนมาร์ - 0.0 สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

31 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย - มาเลเซีย 100.0 อินโดนีเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

32 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 45.9 53.4 มาเลเซีย 4.3 3.4 อินโดนีเซีย 21.2 18.1 เวียดนาม 11.4 10.4 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 1.1 0.8 ลาว - กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 15.9 13.8 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

33 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 4.6 5.2 มาเลเซีย 45.4 36.0 อินโดนีเซีย 28.9 27.6 เวียดนาม 7.7 11.7 เมียนมาร์ 0.3 0.2 สิงคโปร์ 0.1 0.0 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 12.8 18.8 บรูไน - ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

34 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น(วิเคราะห์รายสินค้า)
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 15.0 10.6 มาเลเซีย 3.9 2.3 อินโดนีเซีย 10.9 15.7 เวียดนาม 55.9 53.4 เมียนมาร์ 7.6 9.6 สิงคโปร์ 0.1 ลาว 0.3 0.6 กัมพูชา 2.0 4.9 ฟิลิปปินส์ 4.2 2.9 บรูไน 0.0 ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

35 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 29.2 28.9 มาเลเซีย 23.5 23.7 อินโดนีเซีย 9.0 9.1 เวียดนาม 11.9 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 13.6 10.8 ลาว กัมพูชา 0.1 ฟิลิปปินส์ 15.6 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

36 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปญี่ปุ่น (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 42.8 41.6 มาเลเซีย 20.7 24.6 อินโดนีเซีย 28.6 23.5 เวียดนาม 3.1 5.7 เมียนมาร์ - 0.0 สิงคโปร์ 1.0 0.2 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 3.8 4.3 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

37 ตลาดเกาหลีใต้

38 สรุปส่วนแบ่งตลาดของสินค้าใน ตลาดเกาหลีใต้
รายการสินค้า ปี ปี หมายเหตุ ส่วนแบ่งตลาด 1 2 3 ข้าว ไทย - เวียดนาม 1. ไทยครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 2. ปี เวียดนามแย่งส่วนแบ่งตลาดจากไทยไปร้อยละ 6.3 คิดเป็นมูลค่า 630, เหรียญสหรัฐฯ ยางพารา อินโดเชีย มาเลเซีย ลำดับส่วนแบ่งตลาดไม่เปลี่ยนแปลงทั้งสองช่วงเวลา น้ำมันปาล์มดิบ ปี ไทยแย่งส่วนแบ่งตลาดจากมาเลเซีย คิดเป็นมูลค่า 34,824 เหรียญสหรัฐฯ 4 ยานพาหนะและชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ สิงคโปร์ ไทยครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 1 5 ผลิตภัณฑ์ไม้ ฟิลิปปินส์ ไทยไม่ติดอนดับ 1 ใน 3 ในตลาดเกาหลีใต้ 6 เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย อินโดนีเซีย ในปี ไทยสูญเสียการครองส่วนแบ่งตลาดอันดับ 2 ให้แก่อินโดนีเซีย 7 เครื่องใช้ไฟฟ้า 8 ยางและผลิตภัณฑ์ 2. ปี มาเลเซียแย่งการครองส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 2 จากอินโดฯ

39 สรุปการครองตลาดสินค้าในตลาดเกาหลีใต้หลัง ASEAN+3 (2554-2556)
ประเทศที่ครองตลาดอันดับ 1 การสูญเสียตลาด ประเทศที่สูญเสียส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ ประเทศที่ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น มูลค่า (เหรียญสหรัฐฯ)* ข้าว ไทย 6.9 เวียดนาม (6.3%) มาเลเซีย (0.6%) 207,788.10 (เวียดนาม 189,719.6) (มาเลเซีย 18,068.5 ) ยางพารา มาเลเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ 8.5 ไทย (1.5%) อินโดนีเซีย (6.0%) เมียนมาร์ (0.4%) และกัมพูชา (0.6%) 244,784,397.3 (ไทย 43,197,246.6) (อินโดนีเซีย 172,788,986.4) (เมียนมาร์ 11,519,265.8) (กัมพูชา 17,278,898.6) น้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซีย 41.7 ไทย (19.4%) อินโดนีเซีย (22.3%) 414,076.1 (ไทย 192,639.7) (อินโดนีเซีย 221,436.4) ยานพาหนะ และชิ้นส่วนและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ และฟิลิปปินส์ 18.5 อินโดนีเซีย (13.9%) สิงคโปร์ (3.9%) กัมพูชา (0.7%) 14,310,417.1 (อินโดนีเซีย 10,752,151.2) (สิงคโปร์ 3,016,790.6 ) (กัมพูชา 541,475.2) ผลิตภัณฑ์ไม้ 17.8 เวียดนาม (17.3%) ลาว (0.3%) ฟิลิปปินส์ (0.2%) 39,588,170.70 (เวียดนาม 38476,143.4 ) (ลาว 667,216.4 ) (ฟิลิปปินส์ 444,810.9) เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เวียดนาม ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว และฟิลิปปินส์ 1.7 อินโดนีเซีย (3.5%) เวียดนาม (5.6%) เมียนมาร์ (1.2%) และกัมพูชา (0.4%) (อินโดนีเซีย 1,553,132.5) (เวียดนาม 2,485,012) (เมียนมาร์ 532,502.6) (กัมพูชา 177,500.9) เครื่องใช้ไฟฟ้า สิงคโปร์ ไทย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 5.0 อินโดนีเซีย (0.7%) เวียดนาม (4.3%) 201,560,549.9 (อินโดนีเซีย 28,218,477) (เวียดนาม 173,342,072.9) ยางและผลิตภัณฑ์ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ 8.2 อินโดนีเซีย (1.5%) เวียดนาม (6.7%) (อินโดนีเซีย 823,782.6) (เวียดนาม 3,679,562.5) หมายเหตุ: * มูลค่าเฉลี่ยในช่วงปี (หลัง ASEAN+3)

40 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
ข้าว ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 100.0 93.1 มาเลเซีย 0.0 0.6 อินโดนีเซีย เวียดนาม 6.3 เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

41 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางพารา ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 45.9 47.4 มาเลเซีย 15.3 8.6 อินโดนีเซีย 28.4 34.4 เวียดนาม 7.5 6.9 เมียนมาร์ 0.4 0.8 สิงคโปร์ 0.0 ลาว กัมพูชา 1.0 ฟิลิปปินส์ 2.1 0.9 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

42 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
น้ำมันปาล์มดิบ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 0.0 19.4 มาเลเซีย 99.9 58.2 อินโดนีเซีย 0.1 22.4 เวียดนาม เมียนมาร์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

43 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 28.5 27.0 มาเลเซีย 16.2 6.6 อินโดนีเซีย 8.1 22.0 เวียดนาม 20.2 18.7 เมียนมาร์ 0.2 0.1 สิงคโปร์ 17.0 20.9 ลาว 0.0 กัมพูชา 0.6 1.3 ฟิลิปปินส์ 9.3 3.3 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

44 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
ผลิตภัณฑ์ไม้ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 13.8 11.0 มาเลเซีย 49.5 37.4 อินโดนีเซีย 26.1 23.7 เวียดนาม 8.5 25.7 เมียนมาร์ 0.8 0.4 สิงคโปร์ 0.2 0.1 ลาว 0.5 กัมพูชา 0.0 ฟิลิปปินส์ 1.0 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

45 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 8.0 2.8 มาเลเซีย 2.3 0.5 อินโดนีเซีย 11.9 15.4 เวียดนาม 55.8 61.4 เมียนมาร์ 13.1 14.3 สิงคโปร์ 0.6 0.1 ลาว 0.0 กัมพูชา 2.6 3.0 ฟิลิปปินส์ 5.6 2.5 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

46 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
เครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 14.0 12.8 มาเลเซีย 20.0 อินโดนีเซีย 3.5 4.2 เวียดนาม 1.9 6.2 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 47.8 44.9 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 12.7 11.8 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

47 ส่วนแบ่งตลาดสินค้าส่งออกหลัก ไทยไปเกาหลีใต้ (วิเคราะห์รายสินค้า)
ยางและผลิตภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 (ร้อยละ) หลัง ASEAN+3 ไทย 39.9 34.6 มาเลเซีย 35.1 อินโดนีเซีย 10.7 12.2 เวียดนาม 5.7 12.4 เมียนมาร์ 0.0 สิงคโปร์ 7.3 5.8 ลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์ 1.3 0.4 บรูไน ASEAN 100 ที่มา: คำนวณจากข้อมูล Global Trade Atlas (2014) หมายเหตุ: ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 คือ ปี หลัง ASEAN+3 คือ ปี

48 สรุปศักยภาพอาเซียน หลัง ASEAN+3 (2554-2556)
มูลค่าส่งออก (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) สรุป จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ASEAN+3 ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 หลัง ASEAN+3 ส่วนต่าง ได้/เสีย มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ไทย 73,472.3 72,234.3 -1,238.0 36,563.7 33,462.4 -3,101.2 9,277.4 8,028.5 -1,248.9 เสีย -5,588.2 มาเลเซีย 101,933.7 126,716.4 24,782.7 27,948.2 23,500.9 -4,447.3 11,998.5 9,870.4 -2,128.1 ได้ 18,207.3 อินโดนีเซีย 14,237.8 14,624.8 387.0 18,375.7 18,845.9 470.2 3,826.6 5,099.3 1,272.7 2,129.9 เวียดนาม 24,722.6 25,394.3 671.6 14,160.2 18,298.6 4,138.4 2,582.8 7,115.4 4,532.6 9,342.6 เมียนมาร์ 1,026.7 1,660.2 633.5 612.1 1,274.9 662.8 275.7 963.0 687.2 1,983.6 สิงคโปร์ 43,519.7 41,458.4 -2,061.3 12,395.8 8,268.0 -4,127.9 23,371.7 17,562.2 -5,809.4 -11,998.6 ลาว 275.9 1,071.4 795.4 51.2 117.2 66.0 6.7 7.7 1.0 862.5 กัมพูชา 187.1 652.5 465.4 168.1 700.4 532.4 65.0 263.9 198.9 1,196.7 ฟิลิปปินส์ 60,816.6 41,706.4 -19,110.2 17,033.7 15,490.9 -1,542.8 6,375.2 4,802.7 -1,572.5 -22,225.5 บรูไน 0.7 0.3 -0.4 2.3 -1.7 4.1 8.5 4.5 2.4

49 สรุปศักยภาพอาเซียน หลัง ASEAN+3 (2554-2556)
มูลค่าส่งออก (ล้านบาท) สรุป จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ASEAN+3 ก่อน AEC เริ่ม ASEAN+3 หลัง ASEAN+3 ส่วนต่าง ได้/เสีย มูลค่า (ล้านบาท) ไทย 2,407,687.3 2,367,118.0 -40,569.3 1,198,192.4 1,096,562.8 -101,626.3 304,020.4 263,093.9 -40,926.5 เสีย -183,125.3 มาเลเซีย 3,340,367.3 4,152,496.4 812,129.1 915,862.5 770,124.5 -145,738.0 393,190.8 323,453.0 -69,737.8 ได้ 596,653.2 อินโดนีเซีย 466,572.7 479,254.7 12,682.0 602,171.7 617,580.1 15,408.5 125,397.7 167,104.1 41,706.4 69,796.8 เวียดนาม 810,159.6 832,171.2 22,008.3 464,029.8 599,645.1 135,615.4 84,638.4 233,171.7 148,533.3 306,157.0 เมียนมาร์ 33,645.0 54,404.8 20,759.8 20,058.5 41,778.5 21,720.0 9,034.7 31,557.5 22,519.5 65,002.6 สิงคโปร์ 1,426,140.6 1,358,591.8 -67,548.8 406,210.4 270,942.4 -135,271.3 765,890.6 575,513.3 -190,374.0 -393,194.1 ลาว 9,041.2 35,109.8 26,065.3 1,677.8 3,840.6 2,162.8 219.6 252.3 32.8 28,264.1 กัมพูชา 6,131.3 21,382.4 15,251.2 5,508.6 22,952.1 17,446.7 2,130.1 8,648.0 6,518.0 39,215.9 ฟิลิปปินส์ 1,992,960.0 1,366,718.7 -626,241.3 558,194.3 507,636.8 -50,557.6 208,915.3 157,384.5 -51,530.8 -728,329.6 บรูไน 22.9 9.8 -13.1 75.4 -55.7 134.4 278.5 147.5 78.6

50 ส่วนแบ่งตลาดอาเซียนใน ASEAN+3

51 ศักยภาพสินค้าไทยใน ASEAN+3
ศักยภาพในการแข่งขัน สูงขึ้น ปานกลาง แย่ลง ยางพารา ผลิตภัณฑ์ไม้ ข้าว ยางและผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า น้ำมันปาล์มดิบ ยานพาหนะ ชิ้นส่วนประกอบ และอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย

52 Thank You! ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทร :


ดาวน์โหลด ppt ประเมินศักยภาพการแข่งขัน ของสินค้าไทยใน ASEAN+3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google