การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
โรงเรียนในฝัน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
บทสรุป หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การจัดการศึกษาในชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การจัดเตรียมข้อมูลเชิงปริมาณ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินผลการเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หน่วย การเรียนรู้.
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การแต่งกายของนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประวัติการศึกษาไทย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
My school.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
โรงเรียนปัญญาวรคุณ Panyaworakun school
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การทัศนศึกษา.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ โดย ชุลีพร สุระโชติ ศน.สพป.ลพบุรี เขต ๒

วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.หลักสูตรฯประกอบด้วย วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ โครงสร้างเวลาเรียนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้

๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น ๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมายที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนในท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น

๓.ส่วนที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม สอดคล้องเหมาะสมกับจุดเน้นของสถานศึกษา ความสนใจ ความต้องการ ความถนัดของผู้เรียน เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ศักยภาพของผู้เรียน

การจัดการศึกษาวิชาชีพในสถานศึกษา จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา

จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ลักษณะที่๑ จัดในรายวิชาพื้นฐาน การงาน - ปลูกพืช-ทำอาหาร โดยตรง ศิลปะ - ดนตรี-วาดภาพ-งานปั้น ภาษาต่างประเทศ - มัคคุเทศก์น้อย สอดแทรก คณิตศาสตร์ – บัญชีรายรับ รายจ่าย ต้นทุน กำไร

ลักษณะที่ ๒ จัดในรายวิชาเพิ่มเติม ตามจุดเน้น ความต้องการ กำหนดเป็นผลการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ กอท. ทอเสื่อ ช่างเสริมสวย เพาะไม้ดอกไม้ประดับ สังคมฯ จัดทำข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรม การผลิตสินค้า และการบริการในชุมชน

ลักษณะที่ ๓ จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดในส่วนของกิจกรรมนักเรียน ชุมนุม ชมรม

จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดในรูปแบบของกลุ่มสนใจ นอกเวลาเรียนปกติ สถานศึกษาจัดเอง สถานศึกษาจัดร่วมกับครอบครัว สถานประกอบการ อื่นๆ

การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นอาชีพ จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา

จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา แนวทางที่ ๑ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา สำรวจข้อมูลอาชีพ จัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน /เพิ่มเติม /กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประชาสัมพันธ์ จัดกลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ เน้นกระบวนการทำงาน มีความรู้ ทักษะอาชีพ หารายได้ระหว่าง เรียน

แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร บุคคลภายนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในโรงเรียน

แนวทางที่ ๓ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดย สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ ปฏิบัติจริง กับสถานที่จริง

สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร แนวทางที่ ๔ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ และเอกชน สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร วัสดุครุภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้

จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ที่มีความสนใจ นอกเวลาเรียนปกติเพิ่มทักษะด้านอาชีพ มีรายได้ระหว่างเรียน เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ