งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
โดย สามารถ จันทร์สูรย์

2

3 ความสำคัญของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อิตาลี สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีน เกาหลี

4 องค์การความร่วมมือเพื่อการค้าและการพัฒนา : UNCATD
“เป็นแนวคิดในการพัฒนาและสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยใช้ทรัพย์สิน ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์”

5 นิยาม สามารถ จันทร์สูรย์ : “แนวความคิดในการใช้คุณค่าของมรดกทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรม องค์ความรู้ภูมิปัญญา เอกลักษณ์ของท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม และบริหารจัดการเชิงธุรกิจ มาพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อสร้างคุณค่าทางสังคม และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมพร้อมกันไปอย่างสมดุลย์”

6 จุดแข็งของวัฒนธรรมไทย
๑. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ๒. มีประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงสภาพที่ดี ๓. มีความประณีตละเอียดอ่อนในการสร้างสรรค์ผลงานที่ใช้ฝีมือ ๔. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามหลากหลาย ๕. มีต้นทุนค่าครองชีพต่ำ ๖. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวนมาก

7 จุดอ่อนของวัฒนธรรมไทย
๑.ขาดการบูรณาการและความต่อเนื่อง ๒.ขาดระบบข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลทางสถิติ ๓.มีปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมาก ๔. การผลิตมีการลอกเลียนแบบหรือตามสั่งซื้อโดยไม่สร้างสรรค์ ๕. การสนับสนุนของสถาบันการเงินอยู่ในวงจำกัด ๖. ขาดแนวทางการถ่ายทอดและจัดเก็บภูมิปัญญาอย่างเป็นระบบ ๗.โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยยังอยู่ในระดับที่จำกัด ๘. ระบบมาตรฐานการผลิตยังต้องได้รับการพัฒนาและปรับปรุง

8 องค์ประกอบร่วมของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ทุนวัฒนธรรม + ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี + ธุรกิจ +

9 การจัดประเภทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย โดย UNCTAD
1. กลุ่มมรดกทางวัฒนธรรม สถานที่สำคัญ งานฝีมือ หัตถกรรม การแพทย์แผนไทย อาหารไทย การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2. กลุ่มศิลปะ ศิลปะการแสดง ทัศนศิลป์ 3. กลุ่มสื่อ การพิมพ์และสื่อการพิมพ์ ภาพยนตร์ วีดีทัศน์ 4. กลุ่มงานสร้างสรรค์ตามลักษณะงาน แฟชั่น โฆษณา สถาปัตยกรรม ดนตรี ซอฟแวร์ งานออกแบบ

10 บริการเชิงสร้างสรรค์
ประเภทอุตสาหกรรมวัฒนธรรม : เศรษฐกิจสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม วัฒนธรรม เทศกาลศิลปวัฒนธรรม ออกแบบ บริการเชิงสร้างสรรค์ สิ่งพิมพ์ ทัศนศิลป์ สื่อชนิดใหม่ ภาพยนตร์ / วีดิทัศน์ พื้นที่ทางวัฒนธรรม ศิลปะการแสดง มรดก ศิลปะ สื่อ งานสร้างสรรค์ที่ใช้เป็นประโยชน์

11 ลักษณะการสรรค์สร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์
๑. เน้นการเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการ โดยนำความคิดสร้างสรรค์มาเสริมให้สินค้ามีมูลค่าเพิ่มขึ้น ๒. สร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นที่สร้างสรรค์ ที่มีความแตกต่าง เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และของไทย ๓. ผสมผสานแนวความคิดดั้งเดิม เทคโนโลยี ความคิด สร้างสรรค์ ธุรกิจ และการตลาด

12 แนวทางการดำเนินงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์
วิสัยทัศน์ : จากทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ : นำทุนทางวัฒนธรรมของประเทศสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

13 เศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรม
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์ ทุนทาง วัฒนธรรม การต่อยอด/ การเพิ่มคุณค่า เพิ่มมูลค่า สินค้า+บริการ วัฒนธรรมใหม่ ความรู้ใหม่ ความรู้สึกใหม่ รายได้ใหม่ ของประเทศ เพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน + สร้างความสุข อย่างยั่งยืน =

14

15

16

17

18 Industrial Design Network Co.,Ltd.

19 Industrial Design Network Co.,Ltd.

20 Industrial Design Network Co.,Ltd.

21 Industrial Design Network Co.,Ltd.

22 แนวทางการดำเนินงานสร้างเศรษฐกิจวัฒนธรรม
๑. ปรับกรอบความคิดการพัฒนาสินค้าและบริการ ๒. พัฒนาบุคลากรให้รวมกลุ่มทำความเข้าใจแสวงหาความรู้ ๓. พัฒนารูปแบบการผลิตสินค้าและบริการ ๔. ใช้มรดกศิลปวัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาต่อยอด ๕. นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นต้นแบบ ๖. พัฒนาฐานระบบข้อมูลทั้ง ๔ กลุ่ม ๗. ขยายความร่วมมือทุกภาคส่วน


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google