การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ โดย ชุลีพร สุระโชติ ศน.สพป.ลพบุรี เขต ๒
วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.หลักสูตรฯประกอบด้วย วิสัยทัศน์หลักการจุดมุ่งหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 8กลุ่มสาระ โครงสร้างเวลาเรียนและการวัดประเมินผลการเรียนรู้
๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น ๒. ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพชุมชนและท้องถิ่น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมายที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนในท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น
๓.ส่วนที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม สอดคล้องเหมาะสมกับจุดเน้นของสถานศึกษา ความสนใจ ความต้องการ ความถนัดของผู้เรียน เพื่อพัฒนาสมรรถนะ ศักยภาพของผู้เรียน
การจัดการศึกษาวิชาชีพในสถานศึกษา จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ลักษณะที่๑ จัดในรายวิชาพื้นฐาน การงาน - ปลูกพืช-ทำอาหาร โดยตรง ศิลปะ - ดนตรี-วาดภาพ-งานปั้น ภาษาต่างประเทศ - มัคคุเทศก์น้อย สอดแทรก คณิตศาสตร์ – บัญชีรายรับ รายจ่าย ต้นทุน กำไร
ลักษณะที่ ๒ จัดในรายวิชาเพิ่มเติม ตามจุดเน้น ความต้องการ กำหนดเป็นผลการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับงานอาชีพ กอท. ทอเสื่อ ช่างเสริมสวย เพาะไม้ดอกไม้ประดับ สังคมฯ จัดทำข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรม การผลิตสินค้า และการบริการในชุมชน
ลักษณะที่ ๓ จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดในส่วนของกิจกรรมนักเรียน ชุมนุม ชมรม
จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดในรูปแบบของกลุ่มสนใจ นอกเวลาเรียนปกติ สถานศึกษาจัดเอง สถานศึกษาจัดร่วมกับครอบครัว สถานประกอบการ อื่นๆ
การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นอาชีพ จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
จัดตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา แนวทางที่ ๑ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา สำรวจข้อมูลอาชีพ จัดทำหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน /เพิ่มเติม /กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประชาสัมพันธ์ จัดกลุ่มผู้เรียนตามความสนใจ เน้นกระบวนการทำงาน มีความรู้ ทักษะอาชีพ หารายได้ระหว่าง เรียน
แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร แนวทางที่ ๒ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับวิทยากร บุคคลภายนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในโรงเรียน
แนวทางที่ ๓ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดย สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ ปฏิบัติจริง กับสถานที่จริง
สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร แนวทางที่ ๔ การจัดการเรียนรู้วิชาชีพโดยสถานศึกษา ร่วมกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ และเอกชน สนับสนุนการเรียนรู้ทางด้านวิชาชีพ ทั้งด้านบุคลากร วัสดุครุภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้
จัดนอกโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ที่มีความสนใจ นอกเวลาเรียนปกติเพิ่มทักษะด้านอาชีพ มีรายได้ระหว่างเรียน เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ