ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายขนาดใหญ่
ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
ปัญหาของการบันทึกข้อมูลHCIS
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข วันที่ 30 กันยายน 2553.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติ การ ตรวจสอบคุณภาพ การจัดการฐานข้อมูล 18 แฟ้ม วันที่ 30 มีนาคม 2552 ณ ห้องประชุม สสจ. น่าน.
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
วาระการประชุม แจ้งทราบ แนวทาง 56
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การบันทึกข้อมูล EPI และแพทย์แผนไทย
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การเพิ่มการเข้าถึงบริการกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยเด็ก (C : Child)
ในแต่ละเดือนเมื่อตรวจสอบข้อมูลจนมีผลงานผ่านร้อยละ 100 หรือสูงกว่า 95 ขอให้จัดเก็บแฟ้ม chronic และ person ลงฐานข้อมูลด้วย เพื่อใช้ในการตรวจสอบความ ซ้ำซ้อนของข้อมูลที่ส่งในเดือนถัดไป.
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
ระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานกิจกรรมสาธารณสุข
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
โรงพยาบาลเลย. การประชุม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผล โครงการพัฒนาระบบ การจดทะเบียนการเกิด.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554 ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554 วรกานต์ เหล่าเทิดพงษ์ สมศักดิ์ เตชะอุ่น อัจนิรา มณีวรรณ (ทีมปรึกษา JHCIS อำเภอเมือง)

ข้อตกลง เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบ ช่วงของฐานข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบ โปรแกรม OP-PP2554 version 1.2.4 โดยทีมฯอำเภอเป็นผู้ตรวจสอบฐานข้อมูล ณ วันที่ 15 - 17 กุมภาพันธ์ 2554 ช่วงของฐานข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบ ข้อมูล 18 files ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2554

ข้อตกลง จำนวนแฟ้มที่นำมาคิดค่าเฉลี่ย 10 แฟ้ม การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลครั้งนี้ ไม่ตรวจความสัมพันธ์ของ PERSON กับแฟ้มต่างๆ เนื่องจากเดือนตุลาคม 53 ยังคงเป็นโครงสร้างปี 53 ไม่สามารถใช้โปรแกรม OP-PP2554 ตรวจสอบได้ PROCED error รหัส 2372700 (ถอนฟันน้ำนม) รอการยืนยันรหัสจากสปสช. หากพบสอ.ใดมีการ error รหัสนี้ จะไม่นับว่าเป็นข้อมูลที่ไม่ผ่าน

ข้อตกลง EPI error รหัส 071 (MMR) หากพบสอ.ใดมีการ error รหัสนี้ จะไม่นับว่าเป็นข้อมูลที่ไม่ผ่าน สอ.ใดที่มีผลงานแต่ละแฟ้มเป็น 0 แต่โปรแกรม OP-PP2554 แจ้งว่าผ่าน 100.00 % จะถือว่าไม่ผ่านการตรวจสอบในแฟ้มนั้นๆ เนื่องจากไม่มีปริมาณผลงาน

ผลการตรวจสอบ (ภาพรวมอำเภอเมือง) รายการ MEAN MIN MAX PERSON 99.64 96.73 100.00 SERVICR 99.30 92.38 DIAG 99.81 96.38 PROCED 99.99 99.62 DRUG 99.97 EPI 98.05 71.53 ANC FP 99.79 97.30 PP 62.96 0.00 MCH 79.71 รวม 94.85 90.13

ผลการตรวจสอบฐานข้อมูล จำแนกตามแฟ้ม

PERSON (ข้อมูลบุคคล) ร้อยละ สถานีอนามัย

SERVICE (ข้อมูลการมารับบริการ) ร้อยละ สถานีอนามัย

DIAG (ข้อมูลการวินิจฉัยโรค) ร้อยละ สถานีอนามัย

PROCED (ข้อมูลบริการหัตถการ) ร้อยละ สถานีอนามัย

DRUG (ข้อมูลการให้ยา) ร้อยละ สถานีอนามัย

EPI (ข้อมูลสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค) ร้อยละ สถานีอนามัย

ANC (ข้อมูลการฝากครรภ์) ร้อยละ สถานีอนามัย

FP (ข้อมูลให้บริการวางแผนครอบครัว) ร้อยละ สถานีอนามัย

PP (ข้อมูลดูแลทารก) ร้อยละ สถานีอนามัย

MCH (ข้อมูลอนามัยมารดา) ร้อยละ สถานีอนามัย

ผลการตรวจสอบฐานข้อมูล จำแนกรายสอ.ตามลำดับมาก-น้อย ร้อยละ สถานีอนามัย

ข้อมูล ERROR

แฟ้ม PERSON ไม่สามารถเชื่อมโยงกับแฟ้มที่ให้บริการได้ เกิดจากการบันทึกการให้บริการแล้วไม่ได้วินิจฉัยโรค เรียกผู้รับบริการขึ้นมาแล้วไม่มีกิจกรรมใดๆ แต่ไม่ได้ยกเลิกบริการ

แฟ้ม SERVICE ไม่สามารถเชื่อมโยงการให้บริการได้ เกิดจากการบันทึกการให้บริการแล้วไม่ได้วินิจฉัยโรค เรียกผู้รับบริการขึ้นมาแล้วไม่มีกิจกรรมใดๆ แต่ไม่ได้ยกเลิกบริการ

แฟ้ม DIAG ไม่สามารถเชื่อมโยงการให้บริการได้ เกิดจากการบันทึกการให้บริการแล้วไม่ได้วินิจฉัยโรค เรียกผู้รับบริการขึ้นมาแล้วไม่มีกิจกรรมใดๆ แต่ไม่ได้ยกเลิกบริการ

แฟ้ม PROCED ไม่มีรหัสโรคใน ICD 9 CM และICD 10 TM ส่วนใหญ่เจอในรหัส 2372700 (ถอนฟันน้ำนม) รอการยืนยันรหัสจากสปสช. หากพบสอ.ใดมีการ error รหัสนี้ จะไม่นับว่าเป็นข้อมูลที่ไม่ผ่าน ไม่มี SEQ (visit number) ไม่ทราบว่าเกิดจากการบันทึกข้อมูลในลักษณะใดทำให้ไม่มี SEQ ตามมาในตาราง visitdrug

แฟ้ม DRUG ไม่รู้ว่าทำไมถึง error

แฟ้ม EPI ไม่มีการให้วัคซีนตามรหัสมาตรฐาน สนย. EPI error รหัส 071 (MMR) หากพบสอ.ใดมีการ error รหัสนี้ จะไม่นับว่าเป็นข้อมูลที่ไม่ผ่าน คาดว่าน่าจะเกิดจากถูกกำหนดเป็นวัคซีนที่ให้ในเด็ก ป.1 แต่ปัจจุบันนำมาฉีดให้กับเด็กอายุ 9 เดือนด้วย

แฟ้ม ANC ไม่พบข้อมูล error

แฟ้ม FP ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลได้ เกิดจากไม่มี ID

แฟ้ม PP ปัญหาเดิม คือมีผู้รับบริการที่อายุมากกว่า 45 วัน เข้ามาในตาราง visitbabycare คาดว่าจะเกิดจากขณะบันทึกข้อมูล เผลอ คลิกการดูแลหลังคลอด จึงทำให้ visit นี้ เข้ามาอยู่ในตาราง visitbabycare

แฟ้ม MCH ไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลบุคคลได้ ** แฟ้ม MCH เป็นผลที่เกิดจากการบันทึกข้อมูล ANC และ PP หากบันทึกครบถ้วนก็จะได้ record ของ MCH มาอัตโนมัติ**

ข้อเสนอแนะ

รอตัวปรับปรุงจากทีมพัฒนา JHCIS กระทรวงฯ ซึ่งได้ให้สัญญาว่าจะแก้ปัญหาจากการส่งออก 18 แฟ้ม ให้มีความคลาดเคลื่อนของข้อมูลน้อยที่สุด ซึ่งบางแฟ้ม บางปัญหา ไม่ได้เกิดจากการกระทำที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ แต่เกิดจากความผิดพลาดของระบบส่งออก 18 แฟ้ม

ผลงานเป็นที่น่าพอใจ ? ทีมปรึกษา JHCIS อำเภอเมืองลำปาง ขอขอบคุณ ที่ให้ความร่วมมือและไว้วางใจเป็นอย่างดี