งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557
* 07/16/96 ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557 สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ ชัยวัฒน์ ดลยวัฒนา *

2 Topic การใช้งานเว็บไซต์ OP/PP Individual
มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูลปี 2557 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ปี 2557 การประมวลผล/คิดคะแนน การตรวจสอบข้อมูล (audit) สรุป

3 Website : OP/PP Individuals

4 มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ปี 2557
มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ปี 2557 ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP CHRONIC DRUG MCH HOME PROCED EPI CARD SURVEIL FP WOMAN APPOINT NUTRI NCDSCREEN LABFU CHRONICFU

5 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ในภาพรวม
โครงสร้างมาตรฐานข้อมูล 21 แฟ้ม เวอร์ชัน 5.0 รับข้อมูลทั้งหมด 21 แฟ้ม (เป็น zip file เดียวกัน) แฟ้มใดไม่มีข้อมูลไม่ต้องส่ง (ส่งไม่ครบ 21 แฟ้มได้) แฟ้ม APPOINT, CARD, WOMAN และ HOME จะรับข้อมูลไว้ แต่จะไม่จัดเก็บลงฐานข้อมูล

6 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ในภาพรวม
ไม่รับแฟ้มข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ถูกต้อง ซึ่งจะแจ้งเป็นแฟ้มข้อมูลเสียที่หน้าเว็บ ส่วนแฟ้มที่มีโครงสร้างถูกต้อง แต่ข้อมูลไม่ถูกต้องนั้นจะรับไว้ประมวลผล และจะรายงาน เป็นข้อมูล error ตาม code ที่กำหนดไว้ แฟ้ม SERVICE และ DIAG จะต้องส่งพร้อมกัน แฟ้ม DRUG และ PROCED ถ้าต้องการส่ง จะต้องส่ง พร้อมกับแฟ้ม SERVICE และ DIAG ทุกครั้ง

7 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ทางเทคนิค
รูปแบบแฟ้มข้อมูล เป็น Text file เท่านั้น ชื่อแฟ้ม ,ชื่อฟิลด์ และลำดับฟิลด์ ต้องตรงกับโครงสร้าง มาตรฐาน 21 แฟ้ม ที่ สนย.กำหนด (เวอร์ชัน 5.0) ใช้เครื่องหมายไปป์ ( | ) คั่นระหว่างฟิลด์ แนะนำให้ใส่ Header ด้วย (เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ) ตัวอย่างแฟ้ม ANC = ANC.txt PCUCODE|PID|SEQ|DATE_SERV|APLACE|GRAVIDA|ANCNO|GA|ANCRES|D_UPDATE|CID 11111|013337|6146| |11111|1|2|28|1| | 11111|000719|7622| |11111|3|1|11|1| | 11111|000719|8394| |11111|1|1|17|1| | 11111|014592|9534| |11111|3|2|31|1| |

8 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ทางเทคนิค
รูปแบบการส่งแฟ้มข้อมูล ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลตามที่ สนย. กำหนด เช่น PERSON.txt ,SERVICE.txt เป็นต้น นำแฟ้มข้อมูลใส่ในโฟลเดอร์ ที่ตั้งชื่อโฟลเดอร์เป็น F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss จากนั้นให้ ZIP ข้อมูลทั้งโฟลเดอร์ ตั้งชื่อไฟล์ ZIP เป็น ชื่อเดียวกับโฟลเดอร์ F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip

9 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ทางเทคนิค
รูปแบบการส่งแฟ้มข้อมูล PERSON.txt DEATH.txt CHRONIC.txt SERVICE.txt DIAG.txt SURVEIL.txt DRUG.txt PROCED.txt FP.txt EPI.txt NUTRI.txt ANC.txt PP.txt MCH.txt NCDSCREEN.txt CHRONICFU.txt LABFU.txt F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss F21_12345_ F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip F21_12345_ zip

10 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล การแก้ไขข้อมูลที่ error
ข้อมูลที่ส่งให้ สปสช. ได้รับการประมวลผล (รายงาน Rep) มีสถานะ ผ่าน ไม่ผ่าน (error) ข้อมูลที่ไม่ผ่านสามารถแก้ไขให้ถูกต้อง และส่งใหม่ได้ ข้อมูลที่ตรวจแล้วผ่าน จะไม่รับการ update ใด ๆ ถ้าส่งอีก จะเป็นข้อมูลซ้ำซ้อน และมีผลต่อ Performance

11 ช่องทางการส่งข้อมูล 21 แฟ้ม สนย. 21 แฟ้ม /PCU สสจ. โรงพยาบาล 21 แฟ้ม
Provis / Data Center 21 แฟ้ม สนย. 21 แฟ้ม โรงพยาบาล Rep 21 แฟ้ม Statement

12 การตรวจสอบข้อมูล และการคิดคะแนน
การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) มาตรฐานโครงสร้าง แฟ้มที่ใช้ตรวจสอบ ฟิลด์ที่ใช้เชื่อมโยงข้อมูล 21 แฟ้ม SERVICE.txt* DIAG.txt* PROCED.txt DRUG.txt PID SEQ DATE_SERV CLINIC

13 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP)
(Add on) Drug PID SEQ Date_Serve Clinic Card base CID Service* CID PID SEQ Date_Serve Clinic Diag* PID SEQ Date_Serve Clinic (Add on) Proced PID SEQ Date_Serve Clinic

14 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP)
ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดในแต่ละแฟ้ม ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยนอก PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด รหัสคลินิก (CLINIC) ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด โดยจะตรวจสอบจากตำแหน่งที่ 2-3

15 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP)
มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการให้บริการได้ ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัสที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์แผนไทย ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5

16 การคิดคะแนนการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP)
การให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. การให้บริการผู้ป่วยนอก 1 คนใน 1 วัน จะได้ 1 คะแนน การคิดคะแนน จะพิจารณาเฉพาะรหัสการวินิจฉัยที่บ่งชี้ว่าเป็นโรค หรืออาการแสดงว่าเจ็บป่วย หรือรหัสที่ระบุว่าเป็นผู้ป่วยนอกเท่านั้น

17 การคิดคะแนนการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP) เพิ่มเติม (Add on)
หัตถการจากแฟ้ม PROCED หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.01 คะแนน เป็นรหัสที่อยู่ใน ICD 9 CM และ ICD 10 TM และเป็นรหัสที่กำหนดให้สามารถให้ได้ เป็นรหัสที่เป็นการให้หัตถการกับผู้มารับบริการจริง บันทึกรหัสยามาตรฐาน (24 หลัก) จากแฟ้ม DRUG หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.05 คะแนน มีการส่งต่อ (Refer) จากแฟ้ม SERVICE หากมีการบันทึกข้อมูลการส่งต่อครบถ้วน จะคิดเป็น 0.5 คะแนน

18 การตรวจสอบข้อมูลบุคคล แฟ้ม PERSON
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ OCCUPA เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ NATION เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ RELIGION เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ EDUCATE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบความซ้ำซ้อนจากฟิลด์ PCUCODE และ CID

19 การคิดคะแนนข้อมูลบุคคล แฟ้ม PERSON
แฟ้มสำรวจสะสมส่งข้อมูลปีละครั้ง (ตุลาคม 56) ไม่ส่งซ้ำ Type area 1 และ 3 (มีบ้านอยู่ในเขตรับผิดชอบด้วย) มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ ……คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

20 การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด การให้วัคซีนคนต่างด้าวที่ไม่มีเลขประชาชน 13 หลักต้อง มีการระบุสัญชาติที่ไม่ใช่สัญชาติไทย (จากฟิลด์ NATION ในแฟ้ม PERSON) และต้องใส่ HN (หรือ PID ในแฟ้ม SERVICE) ลงในฟิลด์ CID โดยหาก HN มีไม่ครบ 13 หลัก ให้ใส่เลข 0 ด้านหน้า HN ให้ครบ 13 หลัก

21 การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
ตรวจสอบการให้รหัสวัคซีน (VCCTYPE) ต้องเป็นรหัสวัคซีน ตามที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ VCCPLACE รหัสหน่วยบริการ ต้องเป็นรหัสตามที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบความซ้ำซ้อนจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และVCCTYPE

22 การคิดคะแนนข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

23 การตรวจสอบข้อมูลบริการวางแผน ครอบครัว แฟ้ม FP
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด กรณีเพศหญิง ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี วิธีการคุมกำเนิด FPTYPE) = 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 7 กรณีเพศชาย วิธีการคุมกำเนิด (FPTYPE) = 5 , 6 ตรวจสอบความซ้ำซ้อน กรณีเป็นข้อมูลบริการ ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และ DATE_SERV กรณีเป็นข้อมูลสำรวจ ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE และ CID

24 การคิดคะแนนข้อมูลบริการวางแผน ครอบครัว แฟ้ม FP
ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

25 การตรวจสอบข้อมูลการบริการ ฝากครรภ์ แฟ้ม ANC
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด เป็นเพศหญิง อายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี (ตรวจสอบจากฐานข้อมูล สปสช.) อายุครรภ์ (GA) ต้องอยู่ระหว่าง 4 – 45 สัปดาห์ มีผล ANCRES ฟิลด์ APLACE เป็นรหัสตามที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบความซ้ำซ้อน PCUCODE , CID และ DATE_SERV

26 การคิดคะแนนข้อมูลบริการฝากครรภ์ แฟ้ม ANC
ข้อมูล Date_serv ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

27 การตรวจสอบข้อมูลการตั้งครรภ์ คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด เป็นเพศหญิง อายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี (ตรวจสอบจากฐานข้อมูล สปสช.) วันที่ดูแม่ต้องมากกว่าวันคลอด (PPCARE1>BDATE) มีข้อมูลในฟิลด์วันที่ดูแลแม่ครั้งที่ 1 (PPCARE1) ในฟิลด์ PPCARE2 และ PPCARE3 จะมีหรือไม่มีก็ได้ หากมีวันที่ดูแลแม่ต้องมากกว่าครั้งก่อนเสมอ (PPCARE3 > PPCARE2 > PPCARE1)

28 การตรวจสอบข้อมูลการตั้งครรภ์ คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH
ตรวจสอบความซ้ำซ้อน PCUCODE , CID และ GRAVIDA การตั้งครรภ์ 1 ครั้ง จะส่งข้อมูลที่สมบูรณ์ได้เพียง 1 ครั้ง

29 การคิดคะแนนข้อมูลการตั้งครรภ์ คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH
มีวันที่ดูแลแม่ครั้งที่ 2 และเป็นข้อมูลการคลอด (BDATE) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 – วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลัก(มารดา) ในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 3.0 คะแนน

30 การตรวจสอบข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด น้ำหนักแรกเกิดต้องไม่ต่ำกว่า 500 กรัม วันที่ดูเด็กต้องมากกว่าวันคลอด (BCARE1>BDATE) มีข้อมูลในฟิลด์วันที่ดูแลแม่เด็กครั้งที่ 1 (BCARE1) ในฟิลด์ BCARE2 และ BCARE3 จะมีหรือไม่มีก็ได้ หากมีวันที่ดูแลแม่ต้องมากกว่าครั้งก่อนเสมอ (BCARE3 > BCARE2 > BCARE1)

31 การตรวจสอบข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP
ตรวจสอบความซ้ำซ้อน PCUCODE , CID การดูแลเด็กหลังคลอด 1 คน จะส่งข้อมูลที่สมบูรณ์ได้เพียง 1 ครั้ง

32 การคิดคะแนนข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP
มีวันที่ดูแลเด็กครั้งที่ 2 และเป็นข้อมูลการคลอด (BDATE) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 – วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลัก(เด็ก)ในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 3.0 คะแนน

33 การตรวจสอบข้อมูลโรคเรื้อรัง ของบุคคล แฟ้ม CHRONIC
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ CHRONIC รหัส ICD10 ต้องเป็นรหัสโรคเรื้อรังตามมาตรฐาน สนย. ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และ CHRONIC

34 การคิดคะแนนข้อมูลโรคเรื้อรัง ของบุคคล แฟ้ม CHRONIC
แฟ้มสำรวจสะสมส่งข้อมูลปีละครั้ง (ตุลาคม 56) ไม่ส่งซ้ำ Type area 1 , 3 (แฟ้ม Person) มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน(จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

35 การตรวจสอบข้อมูลโรคเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา แฟ้ม SURVEIL
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ DIAGCODE รหัส ICD10 ต้องเป็นรหัสโรค เฝ้าระวัง ตามมาตรฐาน สนย. ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID ,DATE_SERV และ DIAGCODE

36 การคิดคะแนนข้อมูลโรคเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา แฟ้ม SURVEIL
ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) ส่งภายใน 7 วัน จะได้ คะแนน ส่งหลังจาก 7 วัน แต่ไม่เกิน 60 วัน จะได้ คะแนน

37 การตรวจสอบข้อมูลบริการเฝ้าระวัง ทางโภชนาการ แฟ้ม NUTRI
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด อายุ 0 – 5 ปี DATE_SERV กรกฎาคม , ตุลาคม , มกราคม และเมษายน ส่งข้อมูลให้เสร็จในวันสิ้นเดือนของเดือนที่ชั่ง นน. อายุ 6 – 18 ปี DATE_SERV พฤศจิกายน - ธันวาคม 56 และ พฤษภาคม - มิถุนายน 57 ส่งข้อมูลให้เสร็จในวันสิ้นเดือนธันวาคม 56 และ มิถุนายน 57 ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID ,DATE_SERV

38 การคิดคะแนนข้อมูลบริการเฝ้าระวัง ทางโภชนาการ แฟ้ม NUTRI
ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 รอบการส่งข้อมูล (Month) สัมพันธ์กับวันที่สำรวจ (DATE_SERV) Date_serv อยู่ในเดือนที่กำหนด Date_send ไม่เกินวันสิ้นเดือนของเดือนที่ชั่ง นน. มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

39 การตรวจสอบข้อมูลการตาย ของบุคคล แฟ้ม DEATH
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ฟิลด์ DDATE วันที่ตายต้องอยู่ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 30 มิถุนายน 2557 ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID

40 การคิดคะแนนข้อมูลการตาย ของบุคคล แฟ้ม DEATH
มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน(จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

41 การตรวจสอบข้อมูลการคัดกรอง DM ,HT แฟ้ม NCDSCREEN
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบอายุจากฐานข้อมูลของ สปสช. ต้องมีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID

42 การคิดคะแนนข้อมูลการคัดกรอง DM ,HT แฟ้ม NCDSCREEN
ให้บริการ (DATE_EXAM) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน(จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

43 การตรวจสอบข้อมูลการติดตาม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แฟ้ม CHRONICFU
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และ DATE_SERV

44 การคิดคะแนนข้อมูลการติดตาม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แฟ้ม CHRONICFU
ให้บริการ (DATE_SERV) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ …….คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

45 การตรวจสอบข้อมูลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ฯ แฟ้ม LABFU
มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนด ตาม Flow การตรวจสอบ ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และ DATE_SERV

46 การคิดคะแนนข้อมูลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ฯ แฟ้ม LABFU
ให้บริการ (DATE_SERV) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2557 มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ คะแนน (จะประกาศเป็นทางการภายหลัง)

47 การตรวจสอบ OP/PP Performance
ลำดับ แฟ้มข้อมูล การตรวจสอบ OP/PP Performance หมายเหตุ ความถูกต้อง ทันเวลา ซ้ำซ้อน 1 PERSON - 2 DEATH 3 CHRONIC 4 SERVICE ข้อมูล OP 5 DIAG 6 DRUG 7 PROCED 8 SURVEIL

48 การตรวจสอบ OP/PP Performance
ลำดับ แฟ้มข้อมูล การตรวจสอบ OP/PP Performance หมายเหตุ ความถูกต้อง ทันเวลา ซ้ำซ้อน 9 EPI 10 FP 11 ANC 12 MCH - 13 PP 14 NUTRI ตามรอบการส่ง 15 NCDSCREEN 16 CHRONICFU 17 LABFU

49 การคำนวณความถูกต้องของข้อมูล
สูตรการคำนวณร้อยละความถูกต้องของแฟ้มข้อมูล  จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ (ในแต่ละแฟ้ม) x 100 จำนวนข้อมูลทั้งหมด(ในแต่ละแฟ้มที่ไม่นับรวมข้อมูลซ้ำซ้อน) หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความถูกต้อง แฟ้มข้อมูลถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 95 ได้ คะแนน แฟ้มข้อมูลถูกต้อง ร้อยละ 90.1 – 95 ได้ คะแนน แฟ้มข้อมูลถูกต้อง ร้อยละ 85.1 – 90 ได้ คะแนน

50 การคำนวณความซ้ำซ้อนของข้อมูล
สูตรการคำนวณร้อยละความซ้ำซ้อนของแฟ้มข้อมูล  จำนวนข้อมูลที่ซ้ำซ้อน (ในแต่ละแฟ้ม) x 100 จำนวนข้อมูลที่ถูกต้องทั้งหมด (ในแต่ละแฟ้ม) หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความซ้ำซ้อน แฟ้มข้อมูลซ้ำซ้อนน้อยกว่า ร้อยละ 5 ได้ คะแนน แฟ้มข้อมูลซ้ำซ้อนน้อยกว่า ร้อยละ 5.1–10 ได้ คะแนน

51 การคำนวณความทันเวลาของข้อมูล
สูตรการคำนวณร้อยละความทันเวลาของแฟ้มข้อมูล  จำนวนข้อมูลที่ส่งทันเวลาผ่านการตรวจสอบ (ในแต่ละแฟ้ม) x 100 จำนวนข้อมูลที่ส่งทั้งหมด(ในแต่ละแฟ้ม) หลักเกณฑ์การคิดคะแนนความทันเวลา แฟ้มข้อมูลทันเวลามากกว่า ร้อยละ 95 ได้ คะแนน แฟ้มข้อมูลทันเวลาร้อยละ 90.1 – 95 ได้ คะแนน แฟ้มข้อมูลทันเวลา ร้อยละ 85.1 – 90 ได้ คะแนน

52 การตรวจสอบ Audit ข้อมูล

53 การกำกับติดตามและ ตรวจสอบข้อมูล (Audit)
การประมวลผลพบข้อมูลผิดปกติ จำนวนผู้รับบริการ/จำนวนประชากรที่รับผิดชอบ = ? การให้บริการ/เดือน/วัน/จนท. สัมพันธ์กับความเป็นจริง ? การให้รหัสโรคผู้ป่วยนอก/การใช้ยา/หัตถการ สัมพันธ์ ? หัตถการ สามารถให้บริการได้ ? วัคซีนซ้ำซ้อน ? ข้อมูลสนับสนุนอื่น ๆ /เอกสารที่เกี่ยวข้อง

54 ขอบคุณครับ

55 สิ่งที่ไม่ต้องการให้เกิด
การบริการคนที่เสียชีวิต ให้บริการในขณะผู้ป่วยอยู่ในช่วงรักษาพยาบาลที่ รพ. การลงข้อมูลบริการที่ไม่เกิดขึ้นจริง

56 สิ่งที่ต้องการให้เกิด
บันทึกการบริการตามที่เกิดขึ้นจริง อย่างถูกต้อง ครบถ้วน บันทึกบริการทันเวลา (real time) ส่งข้อมูลทันตามเวลาที่กำหนด

57 สิ่งที่ต้องทำ ตรวจสอบข้อมูล ประชากรให้ถูกต้อง
ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งเข้า ระบบ DATA CENTER อย่างสม่ำเสมอ ส่งข้อมูลทันเวลา - ระบบ Automatic - ระบบ upload files


ดาวน์โหลด ppt ระบบ OP/PP Individual Data ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google