นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระดับ เขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต ๑
Advertisements

โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4/2/2017 Triple A Process ระบบการกำกับติดตามผลการดำเนินนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้น สพฐ.
ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการนิเทศเต็มพิกัดศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเมือง๔
โรงเรียนในฝัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
FEEDBACK.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA 2012)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ณ ห้องประชุม ศูนย์ประสานการมัธยมศึกษา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามนโยบาย โครงการและกิจกรรม สพฐ
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
วัตถุประสงค์ ของการเสวนา รร เล็ก ๑. เพื่อรับนโยบาย จาก ผอ. เขต ๒
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
๘ กลยุทธ์ การยกระดับและคุณภาพ O-NET ปี ๒๕๕๕
ทิศทาง จุดเน้น การบริหารจัดการศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๖
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน อ33208
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุมศรีสว่างรัตน์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
เป้าหมายตามนโยบาย สพฐ. ๒๕๕๘
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
LOGO ประชุมประธาน กลุ่ม ประชุมประธาน กลุ่ม วันที่ 23 พ. ค
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การใช้ผลการสอบขับเคลื่อนการ จัดการเรียนการสอน 1. วิเคราะห์ผลการทดสอบ ระดับชาติ (NT, O-NET) H 1 คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ S.D. น้อยกว่าระดับประเทศ H.
นโยบาย ยกระดับคุณภาพ การศึกษา. ๑. ระบบการ สอบ ๑. ๑ เนื้อหาสาระที่ใช้ออก ข้อสอบ ๑. ๒ รูปแบบของข้อสอบ ๑. ๓ การเตรียมพร้อมให้ นักเรียนคุ้นเคย กับวิธีการตอบ.
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน

เจตนารมณ์ในการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน พัฒนาระบบทดสอบ การวัดและประเมินผลทั้งภายในและภายนอกให้เป็นเครื่องมือส่งเสริมการปฏิรูป การเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีมาตรฐานเทียบเคียงได้กับนานาชาติ และเพื่อให้เป็นระบบ การทดสอบ การวัดและประเมินผลมีคุณภาพและประสิทธิภาพตามนโยบายของรัฐบาล

มาตรการในการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน มาตรการที่ ๑ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยมีข้อสอบส่วนกลางร่วมเป็นส่วนหนึ่ง มาตรการที่ ๒ พัฒนาคลังข้อสอบที่สามารถประเมินผู้เรียน ได้รอบด้านที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน มาตรการที่ ๓ พัฒนาความรู้ ความสามารถของครูผู้สอนเกี่ยวกับการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียน

จุดเน้นและมาตรการ สัดส่วนในการใช้ข้อสอบกลาง คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน (๗๐ %) คะแนนสอบปลายภาค (๓๐%) คะแนนจิตพิสัย คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค คะแนนตรวจงาน/โครงการ คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบส่วนกลาง(สพฐ.) (๕๐ %) ข้อสอบโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (๕๐ %)

จุดเน้นและมาตรการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ข้อสอบกลาง ชั้น ป.๑ ภาษาไทย(ความสามารถด้านภาษา) ป.๒ ภาษาไทย(การอ่านออก เขียนได้แบบบูรณาการ) คณิตศาสตร์(การคิดคำนวณ) ป.๓ การประเมิน NT(ความสามารถด้านภาษา ด้านคำนวณ ด้านเหตุผล)

จุดเน้นและมาตรการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ข้อสอบกลาง ชั้น ป.๔-๕ เน้น ๕ กลุ่มสาระหลัก (ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ) เน้นการประเมินสมรรถนะผู้เรียน(Competency) ม.๑-๒