งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
บทสัมภาษณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) จากสื่อมวลชน “ขณะนี้มีเสียงสะท้อนของครูเรื่องภาษาไทย ว่า เด็กของเราอ่อนภาษาไทยมาก และจากคะแนน NT (National Test) ล่าสุดในวิชาภาษาไทย เป็นการสะท้อนปัญหาการจัดการศึกษาทั้งระบบ ตั้งแต่หลักสูตรที่ไม่ได้เน้นภาษาไทยตั้งแต่เด็ก เพราะมีการสอนถึง ๘ กลุ่มสาระ ทำให้ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนภาษาไทยต่ำ และการไม่มีการทดสอบวัดผลที่เป็นมาตรฐานในเรื่องความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย ซึ่งเด็กชั้นประถมศึกษาจะได้วัดก็ต่อเมื่ออยู่ชั้น ป.๓ และจะวัดอีกครั้งตอนเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนบางแห่งที่จะให้มีการวัดผลเท่านั้น นอกเหนือจากนี้เป็นเรื่องของความรู้สึกของผู้เกี่ยวข้องว่า เด็กยังรู้ภาษาไทยน้อย การวัดและประเมินผลก็จะเป็นปัญหา จึงเป็นตัวอย่างให้เห็นว่าการจะปฏิรูปการศึกษาต้องทำทั้งระบบ ตั้งแต่กระบวนการเรียนรู้ของเด็ก การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ เช่น เด็กไม่รู้ภาษา อ่านไม่ได้ ฟังไม่เข้าใจ การเรียนวิชาต่าง ๆ ก็จะอ่อนทั้งหมด”

2 สภาพการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียน
มีปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้

3 ผลประเมินผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย
ชั้น ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ NT ป.๓ ๕๐.๗๔ ๕๔.๗๘ ๔๒.๙๔ O – NET ป.๖ ๓๑.๒๒ ๕๐.๐๔ ๔๕.๖๘  O – NET ม.๓ ๔๒.๘๐ ๔๘.๑๑ ๕๔.๔๘ O – NET ม.๖ ๔๒.๖๑ ๔๑.๘๐ ๔๗.๑๙ ที่มา: สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

4 การอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้
การเร่งรัดคุณภาพ การอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ ผู้เรียนทุกคนสามารถอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้ เพื่อการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สู่การเสริมสร้างทักษะอาชีพและทักษะชีวิต เป้าหมาย

5 นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ต้องไม่มี
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ นักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ต้องไม่มี สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบาย สพป.สพม. กำหนดมาตรการเร่งรัดคุณภาพ อย่างเข้มข้น จัดทำเครื่องมือตรวจสอบ และคัดกรอง นร. ป.๓ และ ป.๖ ติดตาม ตรวจสอบความก้าวหน้า ทั้งระบบ (Online :Triple A) และติดตามเชิงประจักษ์ ทุกระยะ ตรวจสอบและคัดกรอง นร. ป.๓ และ ป.๖ ทุกคน และวิเคราะห์ สภาพปัญหาเป็นรายบุคคล ๒. พัฒนาครู /จัดหาสื่อ นวัตกรรม ภายในช่วงปิดภาคเรียน กำกับ ติดตาม ช่วยเหลือ ร.ร. และรายงาน ผลต่อ สพฐ. จัดทำข้อมูลปัญหา นร.เป็นรายบุคคล ประสานผู้ปกครอง รับทราบปัญหา และร่วมมือแก้ไขปัญหา ทำแผนซ่อมเสริมและซ่อมเสริม นร. เป็นรายบุคคล สรุปและรายงานผล ต่อ สพป./สพม. ภายในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๖ ๑. เอาใจใส่ดูแลบุตรหลาน อย่างใกล้ชิด ให้ความร่วมมือสนับสนุน โรงเรียน ติดตามความก้าวหน้า การแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิด โรงเรียน ผู้ปกครอง

6 แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน
วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ๒๖ – ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๖ สทศ. จัดทำเครื่องมือตรวจสอบเพื่อคัดกรอง นักเรียนชั้น ป.๓ / ป.๖ ทุกเขตพื้นที่ ๔ – ๕ กันยายน ๕ กันยายน เวลา ๑๔.๓๐ น. สวก., สวก. สพฐ. ประกาศนโยบาย เร่งรัด พัฒนา แก้ไข ปัญหานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ “อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ต้องไม่มี” ประชุมสัมมนา ผอ.เขต/ผอ.กลุ่มนิเทศ ชี้แจงนโยบาย ณ โรงแรมอะเดรียติค เขตมักกะสัน กรุงเทพฯ รัฐมนตรีแถลงนโยบาย ณ กระทรวงศึกษาธิการ ๙ – ๒๐ กันยายน สพป./สพม. ดำเนินการตรวจสอบและคัดกรองการอ่านฯ ของนักเรียนตามเครื่องมือของ สพฐ. - วิเคราะห์และสรุปผลจำแนกตามกลุ่มปัญหา - รายงานผลตามแนวทาง Triple A

7 แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน
วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ๒๒ กันยายน ๒๕๕๖ สพป./สพม. สศศ. ทำข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง สพฐ. และ ผอ.สพป.สพม. และผอ.สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ระยะแรก ตุลาคม ระยะที่ ๒ พฤศจิกายน –ธันวาคม ๒๕๕๖ และมกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗ พัฒนาครูทุกโรงเรียน จัดหา/พัฒนา สื่อ นวัตกรรม สนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรียน ตามความจำเป็นเร่งด่วน ๒. นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือโรงเรียน อย่างใกล้ชิด ๓. รายงานผลการดำเนินงานต่อ สพฐ.

8 แผนการดำเนินงานระยะเร่งด่วน
วัน/เดือน/ปี หน่วยงาน กิจกรรม ตลอด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ โรงเรียน - กำหนดนโยบายให้ครูทุกคนมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหานักเรียน - ประสานผู้ปกครองร่วมแก้ไขปัญหา - ซ่อมเสริมนักเรียนเป็นรายบุคคล - สนับสนุน ส่งเสริมให้ครูพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน - กำกับ ดูแล และช่วยเหลือครูผู้สอน - รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน ต่อ สพป./สพท. ตามที่กำหนด

9 การติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๒ กันยายน ๒๕๕๖
๑. สุ่มติดตามทางโทรศัพท์ สพป. จำนวน ๑๐๐ เขต คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๖๔ ๒. ดำเนินการตรวจสอบแล้ว ร้อยละ ๑๐.๙๒ กำหนดระหว่างวันที่ ๑๓ – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ ร้อยละ ๘๘.๕๔ กำหนดหลังวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ ๑ เขต คิดเป็นร้อยละ ๐.๕๔ เนื่องจากช่วงวันที่กำหนด มีภาระงานอื่นกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว ไม่สามารถเลื่อนได้ ๕. มีการดำเนินการตามขั้นตอนในแนวทางที่ สทศ. กำหนด มีการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมจากที่ สพฐ.จัดให้ ร้อยละ ๓๐.๕๐ ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ เช่น - หลายเขตต้องกำหนดล่าช้าประมาณวันที่ ๑๘ – ๒๐ กันยายน ขึ้นไป เพราะมีภาระงานอื่นกำหนดไว้ล่วงหน้า - งบประมาณน้อย

10 ระยะต่อไป ๑. พัฒนารูปแบบวิธีสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้
ระยะต่อไป ๑. พัฒนารูปแบบวิธีสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - ศึกษาวิจัยและพัฒนารูปแบบวิธีสอนที่ได้ผลและเผยแพร่ - พัฒนา/จัดหาสื่อนวัตกรรมการสอนการอ่านรู้เรื่องและสื่อสาร สนับสนุน สพป./สพม./โรงเรียน - พัฒนาศึกษานิเทศก์แกนนำให้สามารถพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารอย่างหลากหลาย - ส่งเสริมสพป./สพม.ให้พัฒนารูปแบบวิธีสอนที่ได้ผล แลกเปลี่ยนรู้ และเผยแพร่อย่างกว้างขวาง - รายงานความก้าวหน้าต่อกระทรวงศึกษาธิการอย่างต่อเนื่อง สพฐ. พัฒนาครูให้มีเทคนิค/รูปแบบวิธีสอนอย่างหลากหลาย พัฒนา/จัดหาสื่อการสอนที่สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ติดตาม นิเทศ ให้ความช่วยเหลือโรงเรียนอย่างใกล้ชิด - รายงานความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง สพป. /สพม. - คัดเลือกครูสอนภาษาไทยเก่งให้รับผิดชอบชั้น ป.๑ - ๓ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือครูผู้สอนอย่างใกล้ชิด สร้างความตระหนักครูทุกกลุ่มสาระให้ความสำคัญต่อการ พัฒนาการอ่านรู้เรื่องและลื่อสารได้ของนักเรียนทุกระดับชั้น ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือครูผู้สอนให้ใช้รูปแบบวิธีสอน อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้อย่างคงทน - รายงานความก้าวหน้าต่อ สพป./สพม. ทุกระยะ โรงเรียน

11 ระยะต่อไป ๒. เร่งส่งเสริมมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ และเอกชนให้มากขึ้น
ระยะต่อไป ๒. เร่งส่งเสริมมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ และเอกชนให้มากขึ้น - ประสานเครือข่าย องค์กรภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ อย่างหลากหลาย ทั้งด้านองค์ความรู้ สื่อ และนวัตกรรม สพฐ. - ประสานเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาการอ่าน รู้เรื่องและสื่อสารได้อย่างหลากหลาย ทั้งด้านงบประมาณ องค์ความรู้ สื่อ และนวัตกรรม - จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนท้องถิ่น สพป. /สพม. ประสานผู้ปกครองอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มีส่วนร่วมในการดูแล เอาใจใส่บุตรหลาน ในการพัฒนาการอ่านการเขียน ประสานชุมชนอย่างใกล้ชิดในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน กิจกรรมของโรงเรียนในทุก ๆ ด้าน ตามสภาพความพร้อม ของท้องถิ่น - จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนท้องถิ่น โรงเรียน

12 ระยะต่อไป ๓. กำกับติดตามและประเมินผล
ระยะต่อไป ๓. กำกับติดตามและประเมินผล * ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของ สพป. /สพม. ใน การพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - ติดตามการดำเนินงานของ สพป./สพม. ตามกลยุทธ์จุดเน้น - สุ่มตรวจสอบบางเขตพื้นที่ (spot check) *รายงานความก้าวหน้าต่อกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. *กำกับติดตาม ประเมินผล และนิเทศให้ความช่วยเหลือโรงเรียน ในการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาการอ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้ - รายภาค/รายปี - สรุปและรายงานผลต่อ สพฐ. สพป. /สพม. *กำกับติดตาม นิเทศ และให้ความช่วยเหลือครู ในการพัฒนา การอ่านรู้เรื่องและสื่อสาร - รายเดือน/รายภาค - สรุปและรายงานความก้าวหน้าต่อ สพป./สพม. โรงเรียน

13 ภายในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
ภายในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ นักเรียนชั้น ป.๓ และ ป.๖ ทุกคน อ่านรู้เรื่องและสื่อสารได้


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google