แผนงานดูแลผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Service Plan สาขา NCD.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“เบาหวาน ความดัน ดูแลถ้วนทั่วด้วยหมอครอบครัว” รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ส่งเสริมสัญจร.
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ของขวัญปีใหม่ “การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว”
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
การประชุมคณะอนุกรรมการ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
FCT คปสอ./รพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๕๘ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงานดูแลผู้สูงอายุ ปี ๒๕๕๘ เขตสุขภาพที่ ๕

ผู้สูงอายุ ๑. สถานการณ์ปัญหา ข้อมูลผู้สูงอายุเปรียบเทียบปี ๒๕๕๖ กับ ปี ๒๕๕๗ พบว่า ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จาก ๑๓.๙๕ % เป็น ๑๔.๐๙ % ผลการประเมิน ADL ผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคมเพิ่มขึ้น จาก ๘๐.๓๙ % เป็น ๘๖.๔๙ % กลุ่มติดบ้านเพิ่มเล็กน้อย จาก ๑๑.๖๑ % เป็น ๑๑.๗๖ % กลุ่มติดเตียงลดลง จาก ๒.๓๗ % เป็น ๑.๖๑ %

ผู้สูงอายุ ๑. สถานการณ์ปัญหา ๑. ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ จากการคัดกรอง ดังนี้ ๑. ความดันโลหิตสูง ๑๗.๒๕ % ๒. สุขภาพช่องปาก ๘.๕๗ % ๓. เบาหวาน ๗.๘๑ % ๔. ข้อเข่าเสื่อม ๕.๑๗ % ๕. ตาต้อกระจก ๒.๙๙ % ๖. ซึมเศร้า ๒.๐๘ % ๒. ได้รับการส่งต่อมากที่สุดคือซึมเศร้า ๑๖.๑๗ และตาต้อกระจก ๑๔.๗๙ ๓. ได้รับการรักษา(ผ่าตัด) ตาต้อกระจก ๙๗๘ คน คิดเป็น ๖๗.๔๕ % ส่วนข้อเข่าเสื่อมจำนวน ๑๒๘ คน คิดเป็น ๑๐.๐๕ %

ผู้สูงอายุ ๑. สถานการณ์ปัญหา ๔๖๑,๖๖๕ ๖๒.๑๐ ๗๙,๖๑๕ ๑๗.๒๕ ๒,๒๘๒ ๒.๘๑ ผลการคัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ปี ๒๕๕๗ โรค ได้รับการคัดกรอง พบโรค ส่งต่อ จำนวน ร้อยละ 1.ความดันโลหิตสูง ๔๖๑,๖๖๕ ๖๒.๑๐ ๗๙,๖๑๕ ๑๗.๒๕ ๒,๒๘๒ ๒.๘๑ 2.เบาหวาน ๔๕๑,๒๕๒ ๖๐.๗ ๓๕,๒๔๔ ๗.๘๑ ๙๘๙ ๒.๘๗ 3. ซึมเศร้า ๓๘๒,๘๙๔ ๕๐.๗๑ ๗,๙๖๗ ๒.๐๘ ๑,๒๘๘ ๑๖.๑๗ 4. สุขภาพช่องปาก ๒๖๕,๑๖๑ ๓๕.๖๗ ๒๒,๗๑๘ ๘.๕๗ ๒,๐๘๔ ๙.๑๗ 5. ตาต้อกระจก ๓๒๘,๓๐๓ ๔๔.๑๖ ๙,๘๐๕ ๒.๙๙ ๑,๔๕๐ ๑๔.๗๙ 6. ข้อเข่าเสื่อม ๓๑๔,๑๗๘ ๔๒.๒๖ ๑๖,๒๔๖ ๕.๑๗ ๑,๒๗๓ ๗.๘๔

ผู้สูงอายุ ๒. ปัญหาสำคัญ ๑. การคัดกรองโรคผู้สูงอายุไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ๒. แบบการคัดกรองและ Flow Chart ขั้นตอนการ คัดกรองยังไม่เหมาะสม ๓. ระบบการดูแลผู้สูงอายุหลังการคัดกรองยังขาดความ เชื่อมโยงในแต่ละระดับ ๔. ผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองยังไม่ได้รับการดูแลอย่าง เหมาะสมครบถ้วนตามสภาพปัญหา ๕. ข้อมูลการคัดกรอง/รายงานยังไม่เป็นระบบเดียวกัน

๓. เป้าประสงค์หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้สูงอายุ ๓. เป้าประสงค์หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ ๑. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองโรคและดูแลอย่าง เหมาะสมตามสภาพปัญหา ๒. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุหลังการคัดกรองที่ชัดเจน ในแต่ละระดับ ๓. บุคลากรทุกระดับมีความรู้ความสามารถและทักษะ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๔. ฐานข้อมูลผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาให้ถูกต้อง ครบถ้วน

๔. มาตรการที่สำคัญ ๑. พัฒนาระบบคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ๒. พัฒนาการดูแลผู้สูงอายุและคลินิกผู้สูงอายุใน รพ.ทุกระดับ ให้เชื่อมโยง รองรับโรคที่คัดกรอง ๓. พัฒนาบุคลากรระบบการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อเชื่อมโยง วางแผนการรักษาของแพทย์และการดูแลต่อเนื่องที่ รพ.สต. ๔. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ๕. พัฒนาข้อมูลระบบการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ

๕. ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละ ๙๐ ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ ๖ โรค ผลงานสะสม ๓ ปี (HT/DM/ตาต้อกระจก/สุขภาพช่องปาก/ซึมเศร้า/ข้อเข่าเสื่อม) ๒. ร้อยละ ๘๐ % ของรพ.ทุกระดับมีการตั้งจุดรับส่งต่อหรือคลินิกผู้สูงอายุ รองรับผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง ๓. ร้อยละ ๘๐ % ของ Aging Care และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้รับการพัฒนา ศักยภาพ

๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 ๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 มาตร การ กิจกรรมหลัก ระดับเขต ระยะ เวลา กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด ระยะ เวลา ๑. พัฒนาระบบ คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ๑. คัดกรอง ๖ โรค (HT/DM/ตาต้อกระจก/สุขภาพช่องปาก/ซึมเศร้า/ข้อเข่าเสื่อม) ๒. เป้าหมาย สะสม ๓ ปี ให้ได้ ๙๐ % - ไตรมาสที่ ๑ ๑๕ % - ไตรมาสที่ ๒ ๖๐ % ๓.ปรับแบบคัดกรอง ๔.ปรับปรุง Flow Chart ๕.จัดทำสมุดบันทึก ประจำตัวผู้สูงอายุ ๖๐ % ก.ย.๕๗ ม.ค.๕๘ ๑. PM จังหวัดประชุมชี้แจง ๒. PM จังหวัด/อำเภอ ตรวจสอบฐานข้อมูล ผู้สูงอายุ ๓. PM จังหวัด/อำเภอ วางแผนการคัดกรอง ๔. มีการดำเนินการคัดกรอง ๕. มอบสมุดบันทึกให้ ผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรอง ต.ค.๕๗ ธ.ค. ๕๗ มี.ค. ๕๘ ม.ค. ๕๘

๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 ๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 มาตร การ กิจกรรมหลัก ระดับเขต ระยะ เวลา กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด ระยะ เวลา ๒. พัฒนา การดูแลผู้สูงอายุ เชื่อมโยงรองรับโรคที่ คัดกรอง ๑. กำหนดแนวทางและ บทบาทหน้าที่ แต่ละ ระดับ ในการส่งต่อเพื่อ ดูแลรักษา-ส่งกลับดูแล ต่อเนื่องโดยเชื่อมข้อมูล กับบริการปฐมภูมิ ทั้ง ๓ ระดับ ๒. จัดประชุมเพื่อสื่อสาร ทำความเข้าใจกับ Aging Manager ระดับ จังหวัดในแนวทางและ บทบาทหน้าที่ของแต่ละ ระดับให้ชัดเจน ต.ค.๕๗ ๑. PM จังหวัด/อำเภอ วางระบบตามแนวทางและบทบาทหน้าที่ของแต่ละระดับ ๒. จัดประชุมเพื่อสื่อสารทำ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ของแต่ละระดับให้ชัดเจน ๓. รพ.จัดตั้งจุดรับการส่งต่อ หรือคลินิกผู้สูงอายุพร้อม บุคลากรที่รับผิดชอบ เพื่อ รองรับผู้สูงอายุที่ได้รับการ คัดกรองและส่งต่อมารับการ รักษา พ.ย.๕๗

๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 ๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 มาตร การ กิจกรรมหลัก ระดับเขต ระยะ เวลา กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด ระยะ เวลา ๓. พัฒนาบุคลากรระบบการคัดกรอง สุขภาพผู้สูงอายุ ๑. จัดอบรม PM ระดับจังหวัด/อำเภอ (Aging Manager) โดยศูนย์วิชาการ เป็นผู้จัดทำหลักสูตรและวิชาการ ๒. ทีมAging Manager ระดับเขต ดำเนินการสุ่ม ประเมินความรู้และการ ปฏิบัติงานของ Aging Manager ระดับอำเภอ ธ.ค.๕๗ มี.ค.๕๘ ๑. PM จังหวัด/อำเภอ จัดอบรม รพ.สต./รพ. (Aging Care) ๒. PM จังหวัด/อำเภอ ดำเนินการติดตามประเมินความรู้และการปฏิบัติงานของ รพ.สต./รพ. (Aging Care) ม.ค.๕๘

๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 ๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 มาตร การ กิจกรรมหลัก ระดับเขต ระยะ เวลา กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด ระยะ เวลา ๔. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ๑. ศูนย์วิชาการสนับสนุนวิชาการ หลักสูตร เกณฑ์ มาตรฐาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้จังหวัดใช้ประสานความร่วมมือกับท้องถิ่น ๒. ศูนย์วิชาการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรมาน พ.ย.๕๗ พ.ค.๕๘ ๑. PM จังหวัด/อำเภอ ประสานท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย - การดำเนินงานดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่ - ส่งเสริมให้มีศูนย์ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Day care) - ส่งเสริมให้ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (LTC)

๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 ๖. แผนปฏิบัติการ ผู้สูงอายุ ปี 2558 มาตร การ กิจกรรมหลัก ระดับเขต ระยะ เวลา กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด ระยะ เวลา ๕. พัฒนาระบบข้อมูลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ๑. ประสานงานทีม IT เขต 5 ในการจัดทำโปรแกรมฐานข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุ ต.ค.๕๗ ๑.รพ./รพ.สต.จัดทำทะเบียนคัดกรอง รักษา – ส่งต่อ ให้ครบถ้วน เพื่อรองรับการคีย์ข้อมูลเข้าในโปรแกรม พ.ย.๕๗