ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
สื่อการเรียนเรขาคณิต
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
พื้นที่ผิวและปริมาตร
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 4
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
การประดิษฐ์แผนที่ดาววงกลม
ความเท่ากันทุกประการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
Points, Lines and Planes
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
การโต้ตอบแบบ Target Area
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
Engineering Graphics II [WEEK5]
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
Basic Graphics by uddee
การแสดงภาพสามมิติ จัดทำโดย ด.ญ.ญาณตา สมาภาคย์ เลขที่24
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
แก้ไขปรับปรุง Form.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การกำหนด ลักษณะอื่นๆ ง การเขียน เว็บไซต์สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
การกำหนด ลักษณะตาราง ง การเขียน เว็บไซต์สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
Mind Mapping.
นายเชิดศักดิ์ ตั้นภูมี (คบ. จุฬาฯ กศ.ม. มศว.)
หน่วยการวัดมุมเรียกว่า องศา เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย “ ”
เรียนรู้เทคนิคอ่านไว
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Background / Story Board / Character
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
Week 6&7 ISOMETRIC DRAWING การเขียนภาพไอโซเมตริก.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
Orthographic Projection week 4
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
ทรงกลม.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
Orthographic Projection week 4
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection) สัปดาห์ที่ 4

มุมมองมาตรฐานของภาพฉายตั้งฉาก การเขียนภาพฉายตั้งฉาก เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 4 ภาพฉายตั้งฉาก มุมมองมาตรฐานของภาพฉายตั้งฉาก การเขียนภาพฉายตั้งฉาก

วัตถุประสงค์ในสัปดาห์ที่ 4 เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนการอ่านและฉายภาพแบบตั้งฉาก (Orthographic Projection) เพื่อให้นักศึกษารู้จักมุมมองมาตรฐานของภาพฉายตั้งฉาก เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนการสเกตซ์ภาพฉายตั้งฉาก

1. ทำไมต้องเขียนภาพฉายตั้งฉาก รูปสามมิติไม่สามารถที่จะแสดง ขนาดที่ถูกต้องของวัตถุในบางส่วนได้

1. ทำไมต้องเขียนภาพฉายตั้งฉาก เป็นระบบการวางภาพ ที่สามารถแสดงขนาดและบอกรายละเอียด อย่างครบถ้วนของวัตถุได้

“Multi-view Projection” หรือ การฉายภาพวัตถุในหลาย ๆ ด้าน เรียกระบบที่กำหนดขึ้นว่า “Multi-view Projection” หรือ การฉายภาพวัตถุในหลาย ๆ ด้าน ตัวอย่าง เช่น ด้านหน้า (Front View) ด้านข้างขวา (R. Side View) ด้านบน (Top View)

ด้านข้างขวา (R. Side View) Orthographic Sketching ด้านบน (Top View) ด้านหน้า (Front View) ด้านข้างขวา (R. Side View)

Orthographic Sketching

Orthographic Sketching

Orthographic Sketching FRONT VIEW - มุมมองด้านหน้า

Orthographic Sketching TOP VIEW - มุมมองด้านบน

Orthographic Sketching R. SIDE VIEW - มุมมองด้านข้างขวา

2. มุมมองมาตรฐานทั้ง 6 ด้าน (The six standard views )

2. มุมมองมาตรฐานทั้ง 6 ด้าน

พิจารณารูป มีมุมมอง 3 คู่ที่จะแสดงรายละเอียดของวัตถุซ้ำกัน ด้านหน้ากับด้านหลัง (Front กับ Rear) 1 ด้านขวาและด้านซ้าย (R Side กับ L Side) 2 ด้านบนและด้านล่าง (Top กับ Bottom) 3

2. มุมมองมาตรฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

3. การฉายภาพ 3.1 Hidden Line in Orthographic Projection

3. การฉายภาพ 3.1 Hidden Line in Orthographic Projection

3. การฉายภาพ 3.1 Hidden Line in Orthographic Projection

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

ตัวอย่างแบบฝึกหัดพื้นฐาน

แบบฝึกหัด จงเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านของรูปต่อไปนี้

แบบฝึกหัด จงเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านของรูปต่อไปนี้

แบบฝึกหัด จงเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านของรูปต่อไปนี้

แบบฝึกหัด จงเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านของรูปต่อไปนี้

แบบฝึกหัด จงเขียนภาพฉายทั้ง 3 ด้านของรูปต่อไปนี้

3. การฉายภาพ การวางรูป ด้านบน ด้านหน้าและด้านข้าง จะต้องอยู่ในแนวตรงกัน จะต้องลงน้ำหนักของเส้นให้ถูกต้อง ตามชนิดของเส้น

3. การฉายภาพ

3. การฉายภาพ Dividers

3. การฉายภาพ Scales

3. การฉายภาพ Miter Line

3. การฉายภาพ 3.1 การเขียน Center line บนภาพฉายตั้งฉาก

3. การฉายภาพ 3.1 การเขียน Center line บนภาพฉายตั้งฉาก ถูก ผิด

3. การฉายภาพ 3.1 การเขียน Center line บนภาพฉายตั้งฉาก

3. การฉายภาพ 3.2 เส้นต่างๆ บนภาพฉายตั้งฉาก เส้น Centerline ทับกับเส้น Visible line เส้น Hidden line ทับกับเส้น Visible line เส้น Hidden line ทับกับเส้น Centerline

ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 4 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning