รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดของการทำ Logbook
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ชื่อ-นามสกุลนักศึกษา รหัสนักศึกษา เลขที่ CS99
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
รายละเอียดของการทำ Logbook
ADDIE model หลักการออกแบบของ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
เพื่อรับการประเมินภายนอก
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Report) ดร.ชาติชาย โขนงนุช.
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ปฐมนิเทศการฝึกงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ฐานข้อมูล Data Base.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Cooperative Education
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การปรับบุคลิกภาพก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน: ผลการประเมินจากหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมชั้น.
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ. ศ ( มคอ.) เฉลิม วรา วิทย์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสร้างสื่อ e-Learning
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) สุคนธ์ชื่น ศรีงาม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เป็นการฝึกในสถานประกอบการ/สถานการณ์จริง ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของรายวิชา ต้องได้รับความร่วมมือจากฝ่ายสถานประกอบการ ในการจัดกิจกรรม/กระบวนการ การดูแลการฝึก และการประเมินผลนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการฝึก

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)(ต่อ) มีผู้รับผิดชอบทั้ง 2 ฝ่าย การเรียกชื่อของแต่ละสถาบัน/สาขาวิชา อาจแตกต่างกัน เช่น ฝ่ายสถาบัน เรียก อาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึก อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ฯลฯ ฝ่ายสถานประกอบการ เรียก ผู้รับผิดชอบการฝึก พนักงานพี่เลี้ยง ผู้ควบคุมการฝึก ฯลฯ ใช้กระบวนการ/กิจกรรมในการสร้างผลการเรียนรู้

รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) (ต่อ) อธิบายถึงแผนการจัดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ตั้งแต่การเตรียมการจนสิ้นสุดการฝึก ระบุผลการเรียนรู้ ตามความรับผิดชอบที่ถ่ายทอดมาจากผลการเรียนรู้ของหลักสูตร ที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ การประเมินผลการเรียนรู้ต้องครบถ้วน กำหนดแนวทางในการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานและการปรับปรุง

องค์ประกอบของ มคอ.4 หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 4. ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 5. การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ 6. การประเมินนักศึกษา หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

หมวดที่ 1.ข้อมูลทั่วไป รหัสและชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต หรือจำนวนชั่วโมง หลักสูตรและประเภทของรายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กำหนดการฝึก วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของการฝึกประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด

หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม (ผลการเรียนรู้โดยรวม) วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุง (การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ)

หมวดที่ 3. การพัฒนาผลการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (แต่ละด้าน ระบุ 1.ผลการเรียนรู้ 2.กระบวนการหรือกิจกรรม 3.วิธีการประเมินผลการเรียนรู้)

หมวดที่ 4. ลักษณะและการดำเนินการ คำอธิบายโดยทั่วไปหรือคำอธิบายรายวิชา กิจกรรมของนักศึกษา รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย การติดตามผลการเรียนรู้จากการฝึกของนักศึกษา

หมวดที่ 4. ลักษณะและการดำเนินการ (ต่อ) หมวดที่ 4. ลักษณะและการดำเนินการ (ต่อ) หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยง 6. หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา สิ่งอำนวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ฝึก

หมวดที่ 5. การวางแผนและการ เตรียมการ หมวดที่ 5. การวางแผนและการ เตรียมการ การกำหนดสถานที่ฝึก การเตรียมนักศึกษา การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยง การจัดการความเสี่ยง

หมวดที่ 6. การประเมินนักศึกษา หลักเกณฑ์การประเมินผลนักศึกษา กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมิน ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกต่อการประเมิน การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง

หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการของการฝึก หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุง การดำเนินการของการฝึก กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง 1.1 นักศึกษา 1.2 พนักงานพี้เลี้ยง 1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม 1.4 อื่นๆ กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง

บทสรุป รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม เป็นแผนการจัดการฝึกในสถานการณ์จริง ที่มุ่งผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของการฝึก ต้องสอดคล้องตามความรับผิดชอบที่รับมาจากผลการเรียนรู้ของหลักสูตร

บทสรุป (ต่อ) ข้อกำหนดต่างๆ ในรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ให้ความมั่นใจว่า นักศึกษาสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การบรรลุผลการเรียนรู้ในการฝึกนำไปสู่การบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตร และเตรียมนักศึกษาให้พร้อมในการประกอบอาชีพ