13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
IT Central Library KMITL
ขั้นตอนการกรอก เอกสารกรมศุลกากร
โรงเรียนบ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
Address จดหมายอิเลคทรอนิกส์.
ไปรษณีย์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
โดย ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์
TelecommunicationAndNetworks
โครงการอาสาสมัคร ดร. ดนัย มิลินทวณิช
SMTP.
ศุภโชค จันทรประทิน ผู้ช่วยนักวิจัย ห้องปฎิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
Information and Communication Technology
Operating System ฉ NASA 4.
Information and Communication Technology
SCC : Suthida Chaichomchuen
Transport Layer.
คอมพิวเตอร์ กับ ไวรัส โปรแกรมไวรัส ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อก่อกวน และทำลาย
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
การรับส่ง (จดหมายอิเลคทรอนิค)
ทบทวนความเข้าใจ.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
กระบวนการบริหารจัดการระบบงานสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
กิจกรรมที่ 18 อีเมลและการโอนย้ายไฟล์ข้อมูล
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ
Microsoft PowerPoint ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
13 July Information Technology in Daily Life ระบบสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ปฏิบัติการที่ 7 การตกแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม Paint.net โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
13 October 2007
The Millenium 13 October July 2002
13 October 2007
13 October 2007
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
Hosting ( Hosting, Web Hosting)
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ISP ในประเทศไทย
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
Domain Name System   (DNS).
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดทำโดย ด. ญ. ตริตราภรณ์ วงค์กิติ เลขที่ 14 ด. ญ. ปิยกานต์ กุนราชา เลขที่ 19.
การพิมพ์จดหมายธุรกิจต่างประเทศต่าง ๆ
E-Portfolio.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การติดต่อด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Electronic Mail

Information and Communication Technology 310101 Lab 9 13 July 2002 Information and Communication Technology 310101 Lab 9 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ E-mail: wichai@buu.ac.th http://seashore.buu.ac.th/~wichai Email:wichai@buu.ac.th

ปฏิบัติการที่ 9 Electronic mail วัตถุประสงค์ 1. สามารถใช้โปรแกรมประเภท 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นบริการรับส่งจดหมายผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สะดวกและรวดเร็ว ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม รับส่งข่าวสารได้ทั้งแบบตัวอักษร ภาพ และเสียง ทําให้การติดต่อสื่อสารไม่มีขีดจํากัด เป็นระบบที่ได้รับความนิยมในการใช้บริการสูงในเครือข่ายปัจจุบัน 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

แนวความคิดพื้นฐานของ E-mail Email เป็นการติดต่อสื่อสารแบบ Asynchronous ข้อมูลในจดหมายจะถูกส่งไปยัง Server และจะถูกเก็บไว้จนกระทั่งถูกเรียกใช้ ข้อมูลในจดหมายอาจจะใช้เวลาเล็กน้อยก่อนที่จะถูกส่งถึง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบของ E-mail ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า User Agent องค์ประกอบสำคัญ 2 ส่าน ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า User Agent มักจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมใช้งาน เช่น โปรแกรม Pine ใน UNIX ช่วยอํานวยความสะดวกในการอ่านจดหมาย ช่วยในการจัดเตรียมจดหมายและจัดส่ง อํานวยความสะดวกในการจัดเก็บที่อยู่ของผู้ใช้ที่มีการติดต่อบ่อย ส่วนการรับส่ง E-mail ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เรียกว่า Message Transfer Agent 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

E-mail Address รูปแบบทั่วไปของ e-mail address เช่น wichai@buu.ac.th user@domain_name เช่น wichai@buu.ac.th ในบางครั้งอาจจะอยู่ในรูปแบบ user@computer_name.domain_name เช่น nipa@angsila.cs.buu.ac.th 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ขั้นตอนการทำงานของ e-mail To: nipon@buu.ac.th From: tony@micro.com Dear Nipon,… To: nipon@buu.ac.th From: tony@micro.com Dear Nipon,… Tony’s MUA Nipon’s MUA The Internet SMTP.micro.com imss.buu.ac.th To: nipon@buu.ac.th From: tony@micro.com Dear Nipon,… 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

การทํางานพื้นฐานของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การพิมพ์จดหมาย การส่งจดหมาย การรายงาน การอ่านจดหมาย การจัดการกับจดหมายที่อ่านแล้ว 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

การส่งจดหมาย ถึง (To) พิมพ์ e-mail address ของบุคคลที่ผู้ส่งต้องการส่งจดหมายไปถึง สำเนาถึง (Cc) พิมพ์ e-mail address ของผู้รับคนอื่นที่ผู้ส่งต้องการส่งสําเนาจดหมายไปถึง ซ่อนสำเนาถึง (Bcc) พิมพ์ e-mail address ของผู้รับคนอื่นที่ผู้ส่งต้องการส่งสําเนาจดหมายไปถึง เพียงแต่มีข้อแตกต่างกันที่ เมื่อผู้ส่งระบุตัวผู้รับสําเนาจดหมายด้วย ซ่อนสําเนาถึง แล้ว ผู้รับจดหมาย (ในที่นี้คือเจ้าของ e-mail address ในส่วนของ ถึง) จะไม่ทราบว่าจดหมายที่ได้ตนรับนั้น ถูกทําสําเนาส่งไปถึงผู้อื่นด้วยหรือไม่ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ตัวอย่างการส่งจดหมาย อ.กฤษณะ(ckrisana@yahoo.com) เป็นผู้ส่ง To: อ.สุวรรณา(rsuwanna@buu.ac.th) เป็นผู้รับ อ.กฤษณะ(ckrisana@gmail.com) เป็นผู้รับ อ.เบญจภรณ์(benchapornj@yahoo.com) เป็นผู้รับ Bcc: Cc: 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

การตอบจดหมาย ตอบจดหมายไปยังผู้ส่งเพียงคนเดียว ตอบจดหมายไปยังทุกคนที่มีรายชื่ออยู่ในช่อง ถึง (To:) และ สำเนาถึง (Cc:) Buu web mail Yahoo mail 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ข้อดีของ E-mail เป็นการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถกระจายข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อ่านหลายๆ คนได้ ส่งต่อข้อมูลในจดหมายไปยังผู้อื่นได้ง่าย สามารถส่งข้อมูลในจดหมายได้รวดเร็วมาก แม้ว่าจะอยู่ไกลออกไป สามารถแนบแฟ้มข้อมูลไปกับข้อความในจดหมายได้ ไม่ต้องติดแสตมป์ ใส่ซองหรือไปที่ทำการไปรษณีย์ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

มีจดหมายที่ต้องรับส่งมากขึ้น ข้อเสียของ E-mail มีจดหมายที่ต้องรับส่งมากขึ้น ได้รับจดหมายที่ไม่พึงประสงค์ (Junk mail หรือ Spam mail) มากขึ้น 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ระบบปฏิบัติการ windows Eudora, Microsoft Exchange, โปรแกรมรับส่ง E-mail ระบบปฏิบัติการ unix mail, mailx และ pine ระบบปฏิบัติการ windows Eudora, Microsoft Exchange, Microsoft Internet Mail และ Microsoft Outlook 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ประเภทของการใช้บริการรับส่ง E-mail ใช้บริการจากเครื่องที่ตนเองเป็นสมาชิก ใช้บริการจากโปรแกรมประเภท POP/IMAP-based ใช้บริการจาก Web-based E-mail ใช้บริการจาก Free E-mail ใช้บริการจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

มารยาทในการใช้ email อย่าส่งข้อมูลที่เป็นความลับใดๆ ไปกับ e-mail อย่าส่งข้อความที่หยาบคาย ก้าวร้าว หรือน่าเบื่อหน่าย ให้ระมัดระวังอย่าส่งข้อความที่แสดงอารมณ์มากเกินไป ให้ใช้อักษรทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ผสมกันไป ห้ามใช้ตัวหนาหรือขีดเส้นใต้ ลงชื่อท้ายข้อความในจดหมายทุกครั้ง อ่านข้อมูลในจดหมายโดยละเอียดก่อนส่ง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

การใช้เครื่องหมายแสดงอารมณ์ :-) smile ;-) wink :) also a smile :-] smirk :-( frown :-} grin 8-) wide-eyed :-o Oh, no! :-D laughing :-X close mouthed 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

สวัสดี 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002