นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
รายงานสรุปผลการประชุมระหว่างทูต CEO กับผู้ว่าฯ CEO
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม 2555 เวลา น
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
Co-operative education
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
นโยบาย สพฐ. ปี
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ Prior Learning Recognition (PLR)
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
ประชาคมอาเซียน กับ มหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ สัมมนาเจ้าหน้าที่ประจำปี การศึกษา 2555 วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ. ศ ณ John XXIII Conference Center
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทข้าราชการฝ่ายปกครอง กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพรรณี สมบุญธรรม
การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
 ความเคลื่อนไหวกระแสโลก  การเปิดเสรีการค้า การ ลงทุน  การเคลื่อนย้ายเงินทุนโดย เสรี  การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ โดยเสรี  การศึกษาข้ามพรมแดน.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

นโยบายรัฐบาล ๑.๖ เร่งฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศ เพื่อนบ้านและนานาประเทศ       เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคร่วมกัน โดยเฉพาะการ เร่งแก้ไขปัญหากระทบกระทั่งตามแนวพรมแดน ผ่านกระบวนการทางการทูต บนพื้นฐานของสนธิสัญญาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเร่งดำเนินการ ตาม  ข้อผูกพันในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ทั้งในมิติ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ง ภายในและภายนอกภูมิภาค

ทิศทางการอุดมศึกษาของไทย ในปี 2559

ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2555 - 2559 ‘LEGS Strategy’ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ‘L’ Leader of Change Management for Quality Education ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ‘E’ Educator Professional ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ‘G’ Graduated with Quality and Social Responsibility ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ‘S’ Satang Utilization

ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2555 - 2559 ‘LEGS Strategy’ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ‘L’ Leader of Change Management for Quality Education กลยุทธ์ 1.6: ต่อยอดสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพ ให้เป็น สถาบันอุดมศึกษาขั้นนำระดับโลก กลยุทธ์ 1.7: ยกระดับอุดมศึกษาไทย ให้มีบทบาทสูงในประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะในด้าน Higher Education Manpower Mobilization

ความท้าทายของ ASEAN Community Liberalization of trade & services Cross-border education Free flow of workforce Need for international-standard HE Graduates capable of working in international environment + Mutual Recognition Arrangement (MRA) International programs International instructors International environment Permeability of credit and qualifications Employability skills Languages proficiency Cross-cultural communication skills Practical Disciplined Patient

ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิต ให้มี คุณภาพมาตรฐานในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาความเข้มแข็งของ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การส่งเสริมบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ไทย ในประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล กลยุทธ พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของ นักศึกษาไทย ในระดับที่ใช้ในการทำงานได้ พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพและการ ทำงานข้ามวัฒนธรรมของนักศึกษาไทย

ยุทธศาสตร์ที่อยู่ในความรับผิดชอบของงานวิเทศสัมพันธ์ ด้านการพัฒนาความเป็นสากลของมหาวิทยาลัย Cultural and Non-Academic Exchange Program International Learning Center ด้านการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน เตรียมความพร้อมด้านภาษาสำหรับบัณฑิต บุคลากรและสังคม การแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากรและคณาจารย์ในกลุ่มประเทศอาเซียน การจัดตั้ง ‘ศูนย์อาเซียน’ การเพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยว บริการ และการค้าชายแดน การพัฒนาความพร้อมของฝีมือแรงงานและผู้ประกอบการ

“คนในประชาคมอาเซียน ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ มันจะไม่ สามารถให้เราเลือกมีอาชีพเดียวได้...ความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจมีมากขึ้นรวดเร็วขึ้น การย้ายฐานการลงทุนทาง ธุรกิจจะเกิดขึ้น ... คนในประชาคมอาเซียนจะต้องเก่งหลาย เรื่อง ทำหลายด้าน มีหลายมิติอยู่ในตัวพร้อมที่จะปรับเมื่อ สถานการณ์เปลี่ยน...รับได้ทุกสถานการณ์ความ เปลี่ยนแปลง”  …ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน

ขอบคุณครับ