"ฉลาดวางแผน" (SMART Planning) ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี 19 พฤษภาคม 2552
ต้องอย่างนี้ซิ! ถึงจะปรับปรุงงานได้จริง
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
งานธุรการ.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การแถลงนโยบายผู้บังคับบัญชา
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
หน่วย การเรียนรู้.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
เพื่อเสริมพลังปฏิรูปการเรียนรู้
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 18 สิงหาคม 2551 ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
Road Map KM 2551.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน ณ กรมส่งเสริมการเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยให้นักเรียน
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการ Input Process Output Outcome (ปัจจัย) (กระบวนการ)
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การเขียนโครงการ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

"ฉลาดวางแผน" (SMART Planning) ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 24 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมกรมส่งเสริมการเกษตร ชั้น 5

ฉลาดวางแผน SMART Planning Specific, Measurable, Actionable, Relevant & Time-based ทำสิ่งที่จำเป็น เท่าที่จำเป็น เมื่อจำเป็นเท่านั้น ● ให้คนทำเป็นคนคิด ● ทำงานเป็นทีมอย่างมีความสุข ● ตรวจสอบปัญหาในสถานที่จริง ● แก้ปัญหาและวิจัยด้วยตนเอง ประทีป (๒๕ มิ.ย. ๕๒)

? ? เปลี่ยนจาก... ไปเป็น... อนาคต อดีต ปัจจุบัน เป้าหมาย (ชัดเจน & ท้าทาย) อนาคต อดีต ปัจจุบัน “อดีตคือบทเรียน อนาคตต้องสร้าง” ● คิดบวก ● มุ่งมั่น ● มีจินตนาการ ● คิดสร้างสรรค์ / คิดนอกกรอบ ● คิดเป็นระบบ / คิดเชื่อมโยง ประทีป (๑๘ ก.ย. ๕๒)

“คิดทะลุ” (Think Through) 1. ประสิทธิผล (Effectiveness) หลักคิด : “เร็ว ช้า หนัก เบา” “ทำ 20 ได้ 80” “หนึ่งผลมาจากหลายเหตุ” - ประเด็น (Issue) + เป้าหมาย (Target)? ต้อง Specific, Measurable, Actionable, Relevance & Time-based - “จุดคอขวด” (Critical Point, CP) + “ตัวชี้วัด” (KPI)? คือ จุดที่ต้องระมัดระวัง/ดูแลเป็นพิเศษ 2. ประสิทธิภาพ (Efficiency) - ทำกิจกรรม (Activity, A)? / โครงการ (Project, P)? ที่ได้ผล “คุ้มค่า” ที่สุดในการจัดการ/ขจัด “CP” โดยวัดที่ผลลัพธ์ คือ ดีกว่า ถูกกว่า เร็วกว่า (Better Cheaper Faster) ๒๘ มิ.ย. ๕๒

อนาคต ปัจจุบัน Mission (M) = “ภารกิจ” (SMART) ● มีเป้าหมายอยู่ที่ไหน? และบรรลุเมื่อไร? ● อนาคต ปัจจุบัน ● Critical Point (CP) = “จุดคอขวด” + KPI CP = ถ้าต้องการบรรลุ M ต้องจัดการ/ขจัด “CP” อะไรบ้าง? คัดเลือก 4 “CP” ที่จัดการได้เท่านั้น กิจกรรม (Activity, A)/โครงการ (Project, P) สำหรับใช้จัดการ/ขจัดแต่ละ “CP” ที่ให้ผลลัพธ์ “คุ้มค่า” ที่สุด คือ ดีกว่า ถูกกว่า เร็วกว่า ● ประทีป (๒๕ มิ.ย. ๕๒)

WS-1 : 3 กลุ่มย่อย คำถาม : ให้กำหนด 4 “CP” และ กลุ่ม 1 M: ชาวนา ต.สวนแตง ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ ตามคำแนะนำเพิ่มขึ้นจาก 20% เป็น 80% ในเดือนมิถุนายน 2553 กลุ่ม 2 M: ชาวนา ต.สวนแตง ใช้ “ปุ๋ยสั่งตัด” เพิ่มขึ้นจาก 5% เป็น 50% ในเดือน มิถุนายน 2553 กลุ่ม 3 M: ชาวนา ต.สวนแตง ใช้สารเคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืชลดลง 70% (เมื่อเปรียบเทียบ กับฤดูที่ผ่านมา)ในเดือนมิถุนายน 2553 คำถาม : ให้กำหนด 4 “CP” และ “KPI” ของ “CP1” เท่านั้น ๒๔ ก.ย. ๒๕๕๒

“จุดคอขวด” (Critical Point, CP) มี 4 ประเภท ? ความรู้? เทคโนโลยี? ทักษะ? อุปกรณ์? “ทางเลือก” ท้าทาย “หาสาเหตุ” วิธีขจัด “จุดคอขวด” มี ไม่มี 3 4 1 2 รู้ ไม่รู้ สาเหตุของ “จุดคอขวด” ประทีป (๒๕ มิ.ย. ๕๒)

“ดิน-ปุ๋ยสำหรับเด็ก” พิมพ์ครั้งที่ 1-7 (พ.ค. 2550 – มี.ค. 2552) 415,000 เล่ม พิมพ์ครั้งที่ 8 (12 ก.ย. 2552) 3,000 เล่ม มอบรายได้เพื่อจัดทำ “ดิน-ปุ๋ยสำหรับเด็ก”

CP 1 : เครื่องจักรเสีย KPI 1 : เครื่องจักรใช้งานได้ใน 1 wk 1. ทำไมเครื่องจักรเสีย? - เพราะฟิวส์ขาด สาเหตุจากเครื่องจักรทำงานมากเกินไป 2. ทำไมเครื่องจักรทำงานมากเกินไป? - เพราะการหล่อลื่นที่ประเก็นไม่เพียงพอ 3. ทำไมการหล่อลื่นที่ประเก็นไม่เพียงพอ? - เพราะปั๊มหล่อลื่นทำงานไม่ปกติ 4. ทำไมปั๊มหล่อลื่นทำงานไม่ปกติ? - เพราะแกนปั๊มหัก 5. ทำไมแกนปั๊มหัก? - เพราะเครื่องกรองมีขี้น้ำมันอยู่ข้างใน A3 5 ทำไม? A2 A1 ขจัด “ต้นตอ” ไคเซ็น : กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น โดย Masaaki Imai

แผนกลยุทธ์ : หน่วยงาน ... Specific, Measurable, Actionable, Relevant & Time-based M : ประเด็น? – เป้าหมาย? – กำหนดเวลาบรรลุ? CP 1 KPI 1 CP 2 KPI 2 CP 3 KPI 3 CP 4 KPI 4 P1 — (โครงการ: ผู้รับผิดชอบ — ผู้สนับสนุน) Who Who Activity When Budget in charge support A1 A2 A3 ๙ มิ.ย. ๕๒

WS-2 : 3 กลุ่มย่อย คำถาม : กำหนด “LoA” และ “P” ของ “CP1” ๒๔ ก.ย. ๒๕๕๒