งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
เลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล

2 การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
เลือกใช้เทคนิควิธีการวัดวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือ หลายวิธีผสมกัน การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) การประเมิน 360 องศา การสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกที่เด่นชัด (Critical Incident Technique) สรุปตัวชี้วัดลงในแบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ระบุค่าเป้าหมาย โดยแยกออกเป็น 5 ระดับลงในแบบสรุปฯ กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัด 2

3 องค์ประกอบ : ปัจจัยการประเมิน
แนวทางของสำนักงาน ก.พ. องค์ประกอบ : ปัจจัยการประเมิน ปัจจัยการประเมิน แนวทางการพิจารณา เน้นปริมาณของงาน จำนวนผลงานที่ทำได้สำเร็จเปรียบเทียบกับปริมาณงาน ที่กำหนดหรือปริมาณงานที่ควรจะทำได้ในเวลาที่ควรจะเป็น เน้นคุณภาพของงาน ความถูกต้อง ประณีต ความเรียบร้อยของงาน และตรงตามมาตรฐานของงาน เน้นความรวดเร็ว ทันกาล เวลาที่ใช้ปฏิบัติงานเทียบกับเวลาที่กำหนดไว้ เน้นความประหยัดหรือความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร การประหยัดในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ต้นทุน หรือ ค่าใช้จ่าย ในการทำงาน การระวังรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ 3

4 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. วิธีการประเมิน คัดกรอง การสอบถาม การไล่เรียงตาม
ความคาดหวัง ของผู้รับบริการ การไล่เรียงตาม ผังการเคลื่อน ของงาน การพิจารณา จากประเด็น ที่ต้องปรับปรุง การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน จากบนลงล่าง คัดกรอง งานและการ เปลี่ยนแปลง ระหว่างรอบ การประเมินฯ ตัวชี้วัด และ เป้าหมายของผู้ปฏิบัติ ณ ต้นรอบการประเมิน ตัวชี้วัด และ เป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ.สิ้นรอบการประเมิน 4

5 หน่วยงาน สำนัก/ กอง / ศูนย์ กลุ่มงาน ชื่อ – สกุลผู้รับการประเมิน นาย/นาง/นางสาว ตำแหน่ง รอบการประเมินที่  1 ( 1 ต.ค. 52 – 31 มี.ค. 53 ) 2 ( 1 เม.ย. 53 – 30 ก.ย. 53 ) ชื่อ – สกุลผู้ประเมิน นาย/นาง/นางสาว ตำแหน่ง หน้าที่รับผิดชอบหลัก ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs) ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงานหลัก (KPIs) ระดับค่าเป้าหมาย หน่วยวัด % น้ำหนัก สนับสนุนต่อ KPI ผู้บังคับบัญชา 1 2 3 4 5 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานระดับบุคคลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

6 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานระดับบุคคลประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานระดับบุคคลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หน้าที่รับผิดชอบหลัก ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs) ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงานหลัก (KPIs) งาน กิจกรรม 1 …………………… กิจกรรม 2 ……………………

7 ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงานหลัก (KPIs) สนับสนุนต่อ KPI ผู้บังคับบัญชา
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการปฏิบัติงานระดับบุคคลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติงานหลัก (KPIs) ระดับค่าเป้าหมาย หน่วยวัด % น้ำหนัก สนับสนุนต่อ KPI ผู้บังคับบัญชา 1 2 3 4 5

8 กรอบการกำหนดค่าเป้าหมายสำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามกรอบตัวชี้วัด
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 มีการตั้งเป้าหมาย วางแผนดำเนินการและการกำหนดตัวชี้วัด แนวทาง การประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ มีการปฏิบัติตามแผนการดำเนินการอย่างครบถ้วน ด้วยความรับผิดชอบ และความมุ่งมั่นตั้งใจอย่างชัดเจน ผลงานสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ มีการติดตามประเมินผล สรุปบทเรียนการดำเนินงาน และ สร้างนวัตกรรม สู่การปรับปรุงแบบ ก้าวกระโดด รวมถึงมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการปรับปรุงที่ดีขึ้น ในองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีการบูรณาการกระบวนงาน (เป้า – แผน – ปฏิบัติ – วัด – ปรับ) ให้เกิดความสอดคล้องกันของระบบการจัดการ (วัด – ประเมิน – ปรับปรุง) โดยดำเนินการในแนวทางที่มุ่งสู่ผลสำเร็จ ตามความต้องการและเป้าหมายขององค์กร

9 การกำหนดค่าเป้าหมาย ระดับ 1 ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ระดับ 2
แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ระดับ 1 ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับ 2 ค่าเป้าหมายต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับ 3 ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับ 4 ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับ 5 ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน

10 การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน

11 นิยามของ  ตัวชี้วัด (KPIs) เป็นดัชนีหรือหน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของ ผลการปฏิบัติงานได้

12 ประเภทตัวชี้วัด KRA KPIs : ด้านคุณภาพ (Quality)
KPIs : ด้านปริมาณ(Quantity) หน่วย/วัน จำนวนโทรศัพท์/ชั่วโมง จำนวนหน่วยที่ผลิต ปริมาณการให้บริการ จำนวนโครงการที่สำเร็จ จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ จำนวนโทรศัพท์ที่รับสาย Specification ข้อร้องเรียน คำชม ความพึงพอใจของลูกค้า KRA KPIs : ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน (Cost-Effectiveness) KPIs : ด้านกำหนดเวลา(Timeliness) จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ ร้อยละของเงินงบประมาณที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามเวลาที่กำหนด ตารางการทำงานสำเร็จตามแผน งานเสร็จตามวันครบกำหนด ส่งงานตามกำหนดการ งานเสร็จภายใน Cycle time

13 การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
(Targets) ค่าเป้าหมาย (Targets) หมายถึง เป้าหมายใน เชิงปริมาณหรือคุณภาพ หรือทั้งสองส่วน ที่ทำให้แยกแยะได้ว่า การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน

14 แนวทางการกำหนดค่าเป้าหมาย (5 ระดับ)
1 2 3 4 5 ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมาย ในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็น ค่ามาตรฐานโดยทั่วไป Start

15 ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
S เจาะจง (Specific) มีความเจาะจง ว่าต้องการทำอะไร และ ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร M ต้องวัดผลที่เกิดขึ้นได้ ไม่เป็นภาระ ตัวชี้วัดไม่มากเกินไป วัดได้ (Measurable) A เห็นชอบ (Agreed Upon) ต้องได้รับการเห็นชอบซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชา และ ผู้บังคับบัญชา R เป็นจริงได้ (Realistic) ต้องท้าทาย และสามารถทำสำเร็จได้ T ภายใต้กรอบเวลาที่ เหมาะสม (Time Bound) มีระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป

16 เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลง ล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) 16

17 แผนที่ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน
พ.ศ

18

19

20 ถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ ระดับสำนัก/กอง หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

21 ตัวอย่างการถ่ายทอด KPI
เป้าประสงค์ 1. กรมมีโครงสร้างที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ 2. บุคลากรของกรมมีขวัญกำลังใจในการทำงาน 3. ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจจากบริการของสำนัก 4. การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพ 5. บุคลากรของกรมได้รับการพัฒนาสมรรถนะ 6. มีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบในกรมชลประทาน 7. มีผลการศึกษา วิจัย และการพัฒนาสนับสนุน การดำเนินงาน 8. บุคลกรมีสมรรถนะและขวัญกำลังใจในการทำงาน 9. มีระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ตัวชี้วัด สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการปรับ โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรมชลประทาน สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการ ปฏิบัติงาน สพบ ร้อยละความพึงพอใจของผู้บริหารต่อโครงสร้างของกรม สพบ ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริการ ของสำนักฯ ทางด้านการบริหารงานบุคคล สพบ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล เทียบกับแผน สพบ ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนพัฒนา บุคลากร สพบ ร้อยละของข้าราชการในกรมที่ได้รับการพัฒนาตาม IDP สพบ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สพบ จำนวนโครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาที่แล้วเสร็จ สพบ ร้อยละของข้าราชการในสำนัก/กอง ที่ได้รับการพัฒนา ตาม IDP สพบ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรในสำนัก ต่อการปฏิบัติงาน สพบ คุณภาพเว็บโซต์ของสำนัก/กอง สพบ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการ ดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล อธิบดีกรมชลประทาน รธบ. รธร. รธว. รธส. ผส.พบ. ตัวอย่างการถ่ายทอด KPI สพบ.

22 ตัวอย่างการถ่ายทอด KPI
สพบ. ฝ่ายบริหารทั่วไป สพบ-3.2, สพบ.-7.1, สพบ.-8.1, สพบ.-9.1, สพบ._ ฝ่าย-1.1, สพบ._ฝ่าย - 2.1, สพบ._ฝ่าย - 3.1 ส่วนบริหารงานบุคคล สพบ-1.1, สพบ-2.1, สพบ , สพบ-3.2, สพบ-4.1, สพบ-8.1, สพบ-8.2, สพบ-9.2, สพบ_ฝ่าย-4.1, สพบ_ฝ่าย-5.1, สพบ_ฝ่าย-6.1, สพบ_ฝ่าย-7.1, สพบ_ฝ่าย-8.1 ส่วนวินัย และระบบคุณธรรม สพบ-3.2, สพบ-4.1, สพบ-6.1, สพบ-8.1, สพบ_ฝ่าย-10.1, สพบ_ฝ่าย-11.1, สพบ_ฝ่าย-12.1, สพบ_ฝ่าย-13.1 ส่วนฝึกอบรม สพบ-3.2, สพบ-4.1, สพบ-5.1, สพบ-5.2, สพบ-7.1, สพบ-8.1, สพบ_ฝ่าย-3.2, สพบ_ฝ่าย-14.1, สพบ_ฝ่าย-15.1, สพบ_ฝ่าย-16.1 กลุ่มพัฒนาระบบงาน และอัตรากำลัง ฝ่ายสรรหาและบรรจุ แต่งตั้ง ฝ่ายทะเบียนประวัติ และบำเหน็จบำนาญ - ฝ่ายสวัสดิการ ผส.พบ.

23 1.1 การถ่ายทอดลงมาโดยตรง
1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) อธิบดี รองอธิบดี ผู้อำนวยการสำนัก ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องมาจากภัย อันเกิดจากน้ำ ร้อยละของพื้นที่ความเสียหายของพืชเศรษฐกิจ ในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง 1.35 1.05 0.75 0.45 0.15 มอบหมายความรับผิดชอบทั้งตัวชี้วัด (KPIs) และ ค่าเป้าหมาย ในแต่ละข้อ จากผู้บังคับบัญชาสู่ผู้ใต้บังคับบัญชาทั้งหมด มักใช้ในกรณีที่เป็นการมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาระดับสูง ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องมาจากภัย อันเกิดจากน้ำ ร้อยละของพื้นที่ความเสียหายของพืชเศรษฐกิจ ในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง 1.35 1.05 0.75 0.45 0.15 ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ความสูญเสียที่ลดลง อันเนื่องมาจากภัย อันเกิดจากน้ำ ร้อยละของพื้นที่ความเสียหายของพืชเศรษฐกิจ ในเขตชลประทานจากอุทกภัยและภัยแล้ง 1.35 1.05 0.75 0.45 0.15

24 ผู้อำนวยการสำนัก 1-17/ผส.จก., ผส.อน.
1.2 การถ่ายทอดโดยการแบ่งค่าตัวเลขเป้าหมาย 1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) (ต่อ) อธิบดี รองอธิบดี ฝ่ายบำรุงรักษา ผู้อำนวยการสำนัก 1-17/ผส.จก., ผส.อน. ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 มีผลการศึกษา วิจัยและพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน จำนวนโครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาที่แล้วเสร็จ 135 145 155 165 175 ยังใช้ตัวชี้วัดเดิมเป็นหลัก แต่อาจกำหนดระบุพื้นที่หรือขอบเขตความรับผิดชอบ และมีการกำหนดตัวเลขเป้าหมายที่ลดลงตามส่วน มักใช้ในกรณีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ หรือการแบ่งการปฏิบัติงานตามกลุ่มเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 มีผลการศึกษา วิจัยและพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน (หน่วยงานที่รับผิดชอบ) จำนวนโครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาที่แล้วเสร็จ 55 65 75 85 95 ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคน ในระดับเดียวกันรวมแล้ว เท่ากับหรือมากกว่า ค่าตัวเลขเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 มีผลการศึกษา วิจัยและพัฒนา สนับสนุนการดำเนินงาน (ของแต่ละสำนักฯ) จำนวนโครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาที่แล้วเสร็จ

25 1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง
(Goal Cascading Method) (ต่อ) 1.3 การถ่ายทอดที่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเพียงบางด้าน (แบ่งเฉพาะด้านที่มอบ) ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ระบบเครือข่ายสารสนเทศภายในมีความพร้อมใช้งาน จำนวนครั้ง(ต่อปี)ที่ระบบเครือข่ายสารสนเทศไม่สามารถใช้งานได้เกินกว่า 48 ชั่วโมง มอบหมายงานเพียงบางด้าน หรือบางส่วนแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา จำเป็นต้องกำหนด ผลสัมฤทธิ์หลัก และตัวชี้วัดที่ต้องการจากผู้ใต้บังคับบัญชาใหม่ มักใช้ในกรณีที่ เป้าหมายผลการปฏิบัติงานของตนที่ต้องการถ่ายทอด ประกอบขึ้นด้วย เป้าหมายการปฏิบัติงานย่อยหลายประการ และต้องการมอบหมายเป้าหมายผลการปฏิบัติงานย่อยในแต่ละส่วนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนรับผิดชอบ จำเป็นต้องมีความเข้าใจในกระบวนการทำงานที่จะส่งผลต่อเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของตนก่อน ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศฯ ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้รับการตรวจซ่อมให้สามารถใช้งานได้ภายในเวลาที่กำหนด จำนวนครั้ง (ต่อปี) ที่เจ้าหน้าที่ไม่สามารถแก้ไขระบบเครือข่ายให้ใช้งานได้ตามปกติภายใน 24 ชั่วโมง ผู้ดูแลระบบ เครือข่ายฯ ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ผู้ใช้งานระบบเครือข่ายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้งานระบบอย่างถูกต้อง ร้อยละผู้ใช้งานที่สอบผ่านการทดสอบความรู้เกี่ยวกับการใช้งานระบบเครือข่าย 65 70 75 80 85 ผู้รับผิดชอบ การอบรม 25

26 2. การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method)
ใครคือผู้รับบริการ ผู้รับบริการต้องการ/คาดหวังอะไร? จะตั้งเป้าหมายในการให้บริการอย่างไร? จัดทำข้อตกลงการให้บริการ ประเมินผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แนวทางนี้เหมาะกับงานที่ต้องทำหน้าที่ ให้บริการกับผู้อื่นเป็นสำคัญ ผลสำเร็จของงาน คือสิ่งที่ได้ทำ หรือให้บริการกับลูกค้า หรือ ผู้รับบริการ ผู้รับบริการ ก ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ง ผลผลิต บริการ หน่วยงาน ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ข ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ค 26 26

27 ขั้นตอนดำเนินการ ๑. เลือกภาระงาน บริการของผู้รับการ ประเมิน
๑. เลือกภาระงาน บริการของผู้รับการ ประเมิน เช่น การให้บริการแก่ลูกค้าภายนอก และการให้บริการแก่ลูกค้าภายใน ๒. เลือกมิติการ บริการที่จะประเมิน เช่น เลือกประเมินความรวดเร็ว ความถูกต้อง ในการให้บริการ และความสุภาพในการ ให้บริการของผู้ให้บริการ ๓. ตัดสินใจเกี่ยวกับ รายละเอียดการ ประเมิน ช่วงเวลาที่จะประเมิน กำหนดกลุ่มตัวแทนผู้ให้ ข้อมูล ออกแบบวิธีการและแบบฟอร์มสำหรับ การประเมิน ๔. ประมวลและ สรุปผล ให้ผู้รับบริการกรอกแบบสำรวจ หรือการ สัมภาษณ์ผู้รับบริการ และประมวลผลข้อมูล ๕. สรุปผลการ ประเมิน สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ผู้ให้บริการ 27

28 3. การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method)
ตัวอย่าง งาน : การจัดทำระบบศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด KPI : ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทย ขั้นตอนหลัก ในการดำเนินการ วางแผนการจัดทำระบบศูนย์ข้อมูลกลาง วางแผนติดตั้งอุปกรณ์ระบบศูนย์ข้อมูลกลาง ติดตั้งระบบศูนย์ข้อมูลกลาง/บริหารจัดการ ควบคุม ดูแลบำรุงรักษา สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สรุปผลการปรับปรุงระบบศูนย์ข้อมูลกลาง หัวหน้ากลุ่ม คุณเฉลิมพร คุณณัฎฐาพร คุณเอกโรจน์

29 4. การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue-Driven)
ตัวอย่างที่ 1 ปัญหา/ประเด็นของหน่วยงาน แนวทาง/โครงการในการปรับปรุง แก้ไข หน้าที่รับผิดชอบ ในส่วนที่เกี่ยวข้องแนวทาง/โครงการในการปรับปรุง ตัวชี้วัดผลงาน วิธีการประเมิน ชุมชนร้องเรียนว่าไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารการจัดฝึกอบรมของสำนักงานคุมประพฤติ พัฒนาระบบประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการฝึกอบรมที่สำนักงานดำเนินการ พัฒนาช่องทางประชาสัมพันธ์ของสำนักงาน จำนวนช่องทางประชาสัมพันธ์ ที่เพิ่มขึ้นในปี 2551 ใช้ข้อมูลจากรายงานการพัฒนาช่องทางประชาสัมพันธ์ที่ดำเนินการเสร็จในการประเมิน

30 4. การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) (ต่อ)
ตัวอย่างที่ 2 ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 เอกสารที่รับ/ส่ง ถูกต้อง ทันเวลา จำนวนครั้งในการรับส่งเอกสารผิดพลาด และไม่ทันตามเวลาที่กำหนด (ต่อปี) มากกว่า 35 ครั้ง น้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 ครั้ง 25 ครั้ง 20 ครั้ง การจัดทำเอกสารจัดซื้อ จัดจ้าง ถูกต้อง ครบถ้วน จำนวนเรื่องที่เกิดความผิดพลาดในการจัดทำเอกสารจัดซื้อ จัดจ้าง (นับทุก 3 เดือน) 25 เรื่อง 20 เรื่อง 15 เรื่อง 10 เรื่อง การจัดทำบัญชีเพื่อควบคุมการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของกอง ให้เป็นปัจจุบัน จำนวนข้อผิดพลาดในการควบคุมการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของกอง ให้เป็นปัจจุบัน (ต่อเดือน) ผิดพลาดมากกว่า 20 รายการ ผิดพลาด 20 รายการ 15 รายการ 10 รายการ 5 รายการ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่ถูกต้อง จำนวนครั้งที่ผิดพลาดในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เดือนละ ไม่เกิน 15 ครั้ง 10 ครั้ง 5 ครั้ง 30

31 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์(ผลสัมฤทธิ์หลัก) ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน และแผนงาน/โครงการ 31

32 ลำดับขั้นในการจัดทำตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงาน
KPI ของสำนัก/กอง งาน/โครงการ ของหน่วยงาน (กรม) ยุทธศาสตร์ ภารกิจ ภารกิจ ยุทธศาสตร์ งานอื่นๆ KPI ของกลุ่มงาน KPI ของกลุ่มงาน KPI ของกลุ่มงาน ภารกิจ ยุทธศาสตร์ ภารกิจ อื่นๆ ยุทธศาสตร์ ภารกิจ อื่นๆ ยุทธศาสตร์ ภารกิจ อื่นๆ งานอื่นๆ KPI บุคคล KPI บุคคล KPI บุคคล KPI บุคคล KPI บุคคล KPI บุคคล KPI บุคคล


ดาวน์โหลด ppt การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google