บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าจอตู้ ATM ธนาคารกรุงไทย
Advertisements

การบันทึกสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows



การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
หลักการบัญชีคู่ (Double-Entry Accounting)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
โดย... นางจันทร์เพ็ญ หงษ์อินทร์
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
สินค้าคงเหลือ.
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
ลักษณะของระบบบัญชี.
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
ทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4)
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
LOGO. ปัญหาการ วิจัย ผู้วิจัยจึงตั้งปัญหาใน การวิจัยครั้งนี้ว่า.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
Accounts payable system
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี บทที่ 5 บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี

ความหมายของบัญชีแยกประเภท สมุดบัญชีแยกประเภทจัดเป็นสมุดบัญชีขั้นปลายที่จะใช้บันทึกรายการค้าต่าง ๆ    โดยในสมุดบัญชีแยกประเภทนี้จะช่วยแยกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการนำข้อมูลไปใช้ในการสรุปผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการโดยทั่วไป สมุดบัญชีแยกประเภทจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.  สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) ใช้สำหรับการจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือของบัญชีใดบัญชีหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง  

บัญชีแยกประเภททั่วไป แบ่งออกได้ดังนี้ บัญชีแยกประเภททั่วไป  แบ่งออกได้ดังนี้ 1.1 บัญชีประเภทสินทรัพย์ (Assets) หมายถึง บัญชีที่แสดงสินทรัพย์ที่กิจการเป็นเจ้าของแยกตามประเภทสินทรัพย์ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินค้าคงเหลือ บัญชีวัสดุสำนักงาน บัญชีเครื่องใช้สำนักงาน บัญชีธนาคาร บัญชีที่ดิน เป็นต้น  1.2  บัญชีประเภทหนี้สิน (Liabilities) หมายถึง บัญชีที่แสดงมูลค่าของหนี้สินที่กิจการต้องชำระให้กับบุคคลภายนอก เช่น บัญชีเจ้าหนี้การค้า บัญชีเงินกู้ธนาคาร บัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย บัญชีตั๋วเงินจ่าย เป็นต้น

บัญชีแยกประเภททั่วไป แบ่งออกได้ดังนี้ บัญชีแยกประเภททั่วไป  แบ่งออกได้ดังนี้ 1.3 บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถึง บัญชีที่แสดงส่วนของเจ้าของที่เพิ่มหรือลดลง ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีถอนใช้ส่วนตัว บัญชีรายได้ บัญชีค่าใช้จ่าย           บัญชีรายได้ เมื่อมีรายได้ ทำให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น           บัญชีค่าใช้จ่าย เมื่อมีค่าใช้จ่าย ทำให้ส่วนของเจ้าของลดลง           บัญชีถอนใช้ส่วนตัว เมื่อมีการถอนเงินสดและนำสินทรัพย์ไปใช้ส่วนตัว ทำให้ส่วนของเจ้าของลดลง

2. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger 2.1 สมุดแยกประเภทลูกหนี้    เพื่อแยกลูกหนี้เป็นรายบุคล 2.2 สมุดแยกประเภทเจ้าหนี้  เพื่อแยกเจ้าหนี้เป็นรายบุคคล

รูปแบบของบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภท (Ledger Accounts) หมายถึง รูปแบบซึ่งรวบรวมการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้เป็นหมวดหมู่ ต่อจากสมุดรายวันทั่วไป รูปแบบบัญชีแยกประเภทที่นิยมใช้ มี 2 รูปแบบ        1. แบบตัว ที (T) ในภาษาอังกฤษ        2. แบบมีช่องยอดคงเหลือ

การจัดหมวดหมู่บัญชี การจัดหมวดบัญชี การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย เพื่อ ประโยชน์ในการอ้างอิง และสะดวกในการค้นหา แบ่งได้ 5 หมวด             หมวดที่ 1     บัญชีหมวดสินทรัพย์             หมวดที่ 2     บัญชีหมวดหนี้สิน             หมวดที่ 3     บัญชีหมวดส่วนของเจ้าของ             หมวดที่ 4     บัญชีหมวดรายได้             หมวดที่ 5     บัญชีหมวดค่าใช้จ่าย

ผังบัญชี (Chart of Accounts) เลขหน้าแสดงหมวดบัญชี เลขหลังแสดงลำดับบัญชีแต่ละประเภทในแต่ละหมวด เช่น บัญชีเงินสด เลขที่ 101                            เลข  1        ด้านหน้า    =   หมวดสินทรัพย์                       เลข  01      หลัง          =    ลำดับบัญชี

ตัวอย่างแบบผังบัญชี หมวดบัญชีชื่อบัญชี เลขที่บัญชี 1. สินทรัพย์ 101 เงินสด 102 ธนาคาร  103 ลูกหนี้                                      2 หนี้สิน 201 เจ้าหนี้การค้า 202 เงินกู้ธนาคาร 3. ส่วนของเจ้าของ 301 ทุน-นายยุรนันต์ 302 ถอนใช้ส่วนตัว 303 กำไรขาดทุน 4. รายได้ 401 รายได้ค่าโฆษณา 402 รายได้ค่าเช่า 403 รายได้ดอกเบี้ย 5. ค่าใช้จ่าย 501 เงินเดือน 502 ค่าพาหนะ 503 ค่าเช่า 504 ค่ารับรอง