แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
Advertisements

สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Research Mapping.
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย พิมพร สมบูรณ์ยศเดช กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่1 กรมอนามัย

โครงสร้างการจัดการกรณีสาธารณภัยด้านสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ด้านบริหาร สป. ด้านการเงิน สป. , สปสช ด้านสนับสนุน อย. , กรมวิทย์ฯ , สบส. ด้านรักษาพยาบาล สป. , กรมการแพทย์ ด้านสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ด้านควบคุมป้องกันโรค กรมควบคุมโรค ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 05/04/60 3 3 3

จุดมุ่งหมายการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในกรณีสาธารณภัย .เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ .เพื่อให้บริการพื้นฐานที่จำเป็นได้คุณภาพ

ภารกิจด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย . การควบคุมและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค . การสุขาภิบาลอาหาร /ตลาด . การจัดการมูลฝอย . การจัดการสิ่งปฏิกูลและน้ำเน่าเสีย

หลักการและเหตุผล สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น เกิดความเสียหายต่อชีวิตบ้านเรือน ทรัพย์สิน และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขาดแคลนน้ำสะอาดและอาหาร ที่พักอาศัย ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ภายหลังน้ำลดจะนำมาซึ่งปัญหาน้ำเน่าเสีย และแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคต่างๆ อันเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำเป็นต้องเร่งฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิมให้เร็วที่สุด โดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องดำเนินงานร่วมกันอย่างสอดคล้องเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ

เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์  ประชาชนในพื้นที่ประสบภัยได้รับบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม  ตามสภาวการณ์ปกติได้เร็วที่สุดและไม่มีผลกระทบด้านสุขภาพ วัตถุประสงค์ . เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นกรอบและแนวทางในการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ . เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะวิกฤตจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ

แผนดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีอุทกภัย 1.การเตรียม 1.1 การเตรียมการและจัดทำแผนรองรับ - การป้องกันไม่ให้เกิดเหตุ - การเฝ้าระวัง (เพื่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด) 1.2 รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์เพื่อวางแผนดำเนินงาน - พื้นที่เสี่ยงภัย - พื้นที่ประสบภัย 1.3 จัดทำแผนการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ 1.4 เผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนเข้าใจถึงสาเหตุ อันตรายและผลเสีย 1.5 การเตรียมสิ่งสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆในการช่วยเหลือผู้ประสบภัย

แผนดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีอุทกภัย(ต่อ) 2. ระยะเกิดเหตุ ขณะเกิด/วิกฤต . การควบคุมและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค . การสุขาภิบาลอาหาร . การจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ . การจัดการสิ่งปฏิกูล ส้วมและน้ำเน่าเสีย 3. ระยะฟื้นฟู

สภาพปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม  ปัญหาการจัดการแหล่งขยะที่ถูกน้ำท่วม  ปัญหาน้ำขังเน่าเสีย  ปัญหาการสุขาภิบาลอาหาร  ปัญหาคุณภาพน้ำอุปโภค-บริโภค  ปัญหาการจัดการสิ่งปฏิกูล ส้วม  ปัญหาสุขาภิบาลที่พักอาศัย

หลักการและแนวคิด 1. การดำเนินการฟื้นฟูด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลในภาวะฉุกเฉินที่เป็นไปตามหลักวิชาการ 2. การบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน 3. การมีส่วนร่วมของประชาชน 4. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ประหยัดและสามารถจัดการได้ง่าย

แผนการจัดการฟื้นฟูด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ประสบภัย ระยะสั้น 1. เร่งดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง และฟื้นฟู ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมระยะเร่งด่วนในระดับชุมชน 2. ปรับสภาพจุดอพยพให้อยู่ในสภาพปกติ 3. เร่งรัดปรับปรุง และฟื้นฟูสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัย บ้านเรือนที่ประสบภัยน้ำท่วม

แผนการจัดการฟื้นฟูด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ประสบภัย ระยะกลาง 1. การปรับปรุงและฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยให้ถูกสุขลักษณะ 2. การพัฒนาระบบการป้องกันเพื่อลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย

ขอบคุณ สวัสดีคะ