งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” กระทรวงสาธารณสุขในฐานะหน่วยงานหลักในการดูแลและส่งเสริมด้านสุขภาพ มีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยของอาหาร โดยรัฐบาลได้กำหนดให้ปี พ.ศ เป็น “ปีอาหารปลอดภัย” ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญกำหนดเป็นนโยบายหลักของกระทรวงทุกปี ในปีงบประมาณ 2552 นี้ กระทรวงสาธารณสุขก็ได้กำหนดนโยบายที่จะผลักดันโครงการสำคัญด้านอาหารปลอดภัยให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมต่อสุขภาพที่ดีของเด็ก และเยาวชน โดยให้มีการดำเนินงานแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างกรมที่เกี่ยวข้องภายใต้โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”

2 1 อำเภอ 1 โรงเรียนอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด
เป้าหมาย ปี 52 1 อำเภอ 1 โรงเรียนอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาด

3 โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมาย: 1 อำเภอ 1 โรงเรียน
นโยบายกระทรวงสธ. โครงการ “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมาย: 1 อำเภอ 1 โรงเรียน อาหารปลอดภัย เคมี จุลินทรีย์ กายภาพ โภชนาการเหมาะสม เด็กไทยฉลาด ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก ฉลาดบริโภค อย. กรมวิทย์ กรม การแพทย์ กรมพัฒนา แผนไทยฯ ควบคุมโรค กรมอนามัย การดำเนินงานโครงการ “ อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” ได้นำแนวคิด 2 ยุทธศาสตร์สำคัญ คือ ยุทธศาสตร์ “ อาหารปลอดภัย” ซึ่งประกอบด้วย Food Safety และ Nutrition Safety และยุทธศาสตร์ “ เด็กไทยฉลาด” ซึ่งประกอบด้วย ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก และฉลาดบริโภค โดย ทั้ง 2 ยุทธศาสตร์นั้นมีความสัมพันธ์ คือ “อาหารปลอดภัย” ทำให้เด็กไทยฉลาดมีสุขภาพดี “เด็กไทยฉลาด” รู้จักเลือก และบริโภคอาหารปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม ขยายสู่ครอบครัวและชุมชน การป้องกันโรคไม่ติดต่อ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อาหารปลอดภัยตามวิถีไทย ฉลากโภชนาการ ตะกั่ว การใช้ชุดทดสอบ โครงการ “เด็กฉลาดเลือก บริโภคอาหารปลอดภัย”

4 ภาคีเครือข่ายความร่วมมือ
โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน สสจ. กระทรวง อปต. โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน อปท. โรงเรียน 1 อำเภอ 1 โรงเรียน กระทรวง สนับสนุน ชุดความรู้และสื่อต้นแบบ สสจ.ทำหน้าที่รณรงค์ ประชาสัมพันธ์อบรม ให้โรงเรียนเป้าหมาย อำเภอพัฒนาและประเมินโรงเรียนให้ผ่านเกณฑ์ บทบาท 4

5 อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด เป้าหมายระยะยาว : เด็กไทยสุขภาพดี
ปลอดแบคทีเรีย ปลอดสารพิษ ปลอดสารเคมี โภชนาการที่เหมาะสม ฉลาดรู้ ฉลาดเลือก ฉลาดบริโภค ส่วนกลาง (ประกอบด้วย 7 โครงการ) 1. โครงการรณรงค์ล้างมือในโรงเรียน 2. เด็กฉลาดเลือก บริโภคอาหารปลอดภัย โครงการถ่ายทอดภารกิจการตรวจวิเคราะห์ สู่ อปท. และโรงเรียน 4. รณรงค์สร้างกระแสการป้องกันโรคไม่ติดต่อ 5. อาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาดกับวิถีไทย 6. สภาความร่วมมือฯ อาหารปลอดภัยสู่โรงเรียน 7. เฝ้าระวังป้องกันภัยอาหารปนเปื้อนสารตะกั่ว แนวทางการดำเนินงานของจังหวัด 1. ให้ สสจ. (หรือ สสอ.) คัดเลือก โรงเรียน / 1 อำเภอ 2. สนับสนุนสื่อให้ทุกโรงเรียน 3. โรงเรียนจัดกิจกรรม และประเมินตนเอง 4. เจ้าหน้าที่ (สสอ. หรือ สสจ.) ประเมิน ตามเกณฑ์ 5. สรุปรายงานความสำเร็จ มอบประกาศให้โรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการ สื่อสนับสนุนจังหวัด 1. คู่มือการดำเนินงาน 2. เกณฑ์การประเมิน 3. องค์ความรู้ และสื่อต่าง ๆ 4. การฝึกอบรม (ถ้ามี) โครงการรณรงค์ล้างมือในโรงเรียน ผู้รับผิดชอบหลัก กรมอนามัย โครงการเด็กฉลาดเลือกบริโภคอาหารปลอดภัย ผู้รับผิดชอบหลัก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 3 โครงการถ่ายทอดภารกิจการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้รับผิดชอบหลัก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โครงการรณรงค์อาหารปลอดภัยเด็กไทยสุขภาพดี ผู้รับผิดชอบหลัก กรมควบคุมโรค โครงการอาหารปลอดภัยเด็กไทยฉลาดกับวิถีไทย ผู้รับผิดชอบหลัก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 6 โครงการสภาความร่วมมือเครือข่ายความปลอดภัยและความมั่นคงด้านอาหาร ผู้รับผิดชอบหลัก ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร 7 โครงการเฝ้าระวังป้องกันภัยอาหารปนเปื้อนสารตะกั่ว ผู้รับผิดชอบหลัก กรมการแพทย์ เป้าหมายปี 2552 : 1 อำเภอ 1 โรงเรียน “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด” เป้าหมายระยะปานกลาง : ลดการเจ็บป่วย เพิ่มพัฒนาการทางร่างกายและสมองดีขึ้น(Physical Health, Mental Health&IQ) เป้าหมายระยะยาว : เด็กไทยสุขภาพดี

6 (รวมโรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดตรัง 10 แห่ง)
เป้าหมายปีที่ 1 (พ.ศ ) โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในจังหวัดตรัง อำเภอละ 1 โรงเรียน (รวมโรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดตรัง 10 แห่ง)

7 ตัวชี้วัดความสำเร็จภาพรวมโครงการ ปี 2552
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1.1 ทุกอำเภอ มีโรงเรียนอาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด อย่างน้อย 1 แห่ง

8 2. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1 เกณฑ์ด้านกายภาพ - จุดน้ำดื่มบริการในโรงอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ตรวจสอบทาง แบคทีเรีย - จัดให้มีอ่างล้างมือที่สะอาด พร้อมสบู่ สำหรับนักเรียนใช้ได้ โดยสะดวก ณ บริเวณโรงอาหาร - มีห้องสุขา ที่สะอาด เพียงพอ

9 2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม
2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม นักเรียนมีความรู้เรื่อง การล้างมือที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติได้ถูกวิธี นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ และสามารถใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นได้ นักเรียนมีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารตะกั่ว และการหลีกเลี่ยงการปนเปื้อน

10 2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม (ต่อ)
2.2 เกณฑ์ด้านความรู้ และพฤติกรรม (ต่อ) นักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเอง จากโรคไม่ติดต่อ นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย

11 2.3 เกณฑ์ด้านอาหารปลอดภัย
2.3 เกณฑ์ด้านอาหารปลอดภัย - ก๋วยเตี๋ยวปลอดภัย - อาหารปลอดภัยจากแบคทีเรีย สารปนเปื้อน และสารพิษ

12 3. ตัวชี้วัดด้านสุขภาพของเด็กในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
3. ตัวชี้วัดด้านสุขภาพของเด็กในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย อัตราการเจ็บป่วยของเด็กนักเรียน อันเนื่องมาจากอาหารเป็นพิษในโรงเรียนลดลง

13 ขั้นตอนการดำเนินงาน 1อำเภอ 1 โรงเรียน รายงานผล สสจ. สสอ. ผู้รับผิดชอบ
รพช. รายงานผล สสจ. ประเมินผล

14


ดาวน์โหลด ppt นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google