งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม : น. ส. ฝ้ายคำ หาญณรงค์ ผู้นำเสนอ : น. ส. ลัดดาวัลย์ เดช จำปา

2 ขบวนการของภาคประชาสังคม ภาคประชาสังคม หมายถึง แรงงาน เกษตรกร ผู้บริโภค นักวิชาการ NGOs เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ทำงานเกี่ยวข้อง โดยตรงกับประชากรกลุ่มเสี่ยงที่จะได้รับ อันตรายจากสารเคมี

3 1. งานที่ดำเนินการอยู่และเกี่ยวข้อง กลุ่มผู้บริโภค  เผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิประโยชน์ผู้บริโภค ผ่านรายการ วิทยุรัฐสภา / วิทยุชุมชน ( สมาคมพัฒนาและคุ้มครอง ผู้บริโภคไทย )  เวทีการมีส่วนร่วมขององค์กรเครือข่ายด้านผู้บริโภค (27 องค์กร ) ด้านสิทธิของผู้บริโภค ( สหพันธ์องค์กรผู้บริโภค )  ติดตามกฎหมายและนโยบายสาธารณะ ( สหพันธ์องค์กร ผู้บริโภค ) แรงงาน  ประสานงาน รณรงค์ และให้การศึกษา กลุ่มและ องค์กรแรงงานที่เป็นผู้ป่วยจากการทำงาน ( สภา เครือข่ายกลุ่มผู้ป่วยจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม )

4 1. งานที่ดำเนินการอยู่และเกี่ยวข้อง ( ต่อ ) นักวิชาการ  พยายามสร้างฐานข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ได้แก่ ฐานข้อมูล MSDS ภาษาไทย ( เกือบ 2,000 สารเดี่ยว ) และเผยแพร่ทาง www.chemtrack.org ( ศูนย์วิจัย แห่งชาติด้านการจัดการของเสียอันตราย ม. จุฬา ฯ )www.anamai.moph.go.th/chemnet  กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (02 4488338)  มี Lab วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ( กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ )  พัฒนาระบบฐานข้อมูลตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ( ภาษาไทย อันแรก ) เป็น web: www.mot.go.th และ CD ( ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานปลัด กท. คมนาคม )

5 การรณรงค์ขององค์กรภาคประชาสังคม สู่ กลุ่มเป้าหมายที่ตนทำงานด้วย เช่น ผู้บริโภค ผ่าน เครือข่ายผู้บริโภค, แรงงาน ผ่านกลุ่มแรงงาน, ชุมชนผ่าน NGOs ที่ทำงานกับชุมชน ฯลฯ มีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายของภาครัฐ เนื่องจากกลุ่มองค์กรเหล่านี้ทำงานสัมผัสกับผู้ได้รับ ผลกระทบโดยตรง จะมีความเข้าใจในประเด็น ปัญหาเฉพาะมากกว่า และสามารถให้ความเห็น หรือข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนา นโยบายได้ หลังจากที่มีการนำระบบมาใช้แล้ว ภาคประชา สังคมต้องติดตามและประเมินสถานการณ์การใช้ งานจริงในพื้นที่ พร้อมทั้งนำเสนอปัญหา และ หนทางปรับปรุง 2. การมีส่วนร่วมของภาค ประชาสังคม

6 3. แผนการพัฒนาศักยภาพของ ภาคประชาสังคม ( เร่งด่วน ) พัฒนา training module ( ชุด ฝึกอบรม ) พร้อมทั้งสื่อในการอบรม เฉพาะ สำหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ( อาจปรับจาก ของ UNITAR ที่กำลังทำอยู่ ) เช่น  กลุ่มแรงงานที่สัมผัสสารเคมีโดยตรง  กลุ่มผู้บริโภค  เกษตรกร  ชุมชน ( ระยะสั้น ) จัดฝึกอบรม training for trainers ให้กลุ่มองค์กรภาคประชาสังคม เพื่อนำไป ขยายผลให้เครือข่ายต่างๆ

7 3. การพัฒนาศักยภาพของภาค ประชาสังคม ( ระยะยาว ) บรรจุสาระการเรียนรู้ เรื่อง GHS และ Chemical Safety เข้าสู่หลักสูตร การศึกษา ( เช่นวิชา เสริมสร้างประสบการณ์ ชีวิต, วิทยาศาสตร์ ) ( ต่อเนื่อง ) ให้ความรู้ / สื่อสารแก่สาธารณะ ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ โทรทัศน์, วิทยุ ชุมชน (Air War) ( ต่อเนื่อง ) ให้ความรู้ / สื่อสารแก่สาธารณะ ผ่านการทำงานขององค์กรชุมชนท้องถิ่น เช่น ผู้นำชุมชน, NGOs ที่ทำงานกับชาวบ้าน, และ โครงการ อย. น้อย (Ground War)

8 ประเด็นอื่นๆ ( สภาเครือข่ายกลุ่มผู้ป่วยจากการทำงานและ สิ่งแวดล้อม ) จากการทำงานกับแรงงาน พบปัญหา ว่า โรงงานมักไม่ให้ข้อมูลสารเคมีที่คนงานต้องใช้ ละเอียดและครบถ้วนพอ เช่น ข้อมูลด้านผลกระทบ ต่อสุขภาพและการป้องกันอันตราย การจัดการ Waste ( สิ่งปฏิกูลฯ ตาม พรบ. โรงงาน ) จะต้องปฏิบัติตาม GHS หรือไม่ ระบบการบริหารจัดการซากผลิตภัณฑ์ (consumer product) ที่มีฉลาก GHS เป็นประเด็นที่ต้อง พิจารณาในระยะยาว


ดาวน์โหลด ppt การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google