วันที่ 20 สิงหาคม 2556 การวางแผนการผลิตรวม Aggregate Production Planning Master production Scheduling
มอบหมายงานวันที่ 20 สิงหาคม 2556 ค้นคว้าเดี่ยวหัวข้อ material Management MRP ( Material Requirement Planning) ส่งวันที่ 22 สิงหาคม ก่อน 16.00 น.
Planning classification 1 month 3 months 1 year or 6 months 3 years 30 years President Manager Supervisor Staff Short term plan Long term plan Highest efficiency approach Business stability Operation method control Resource control >Material >Manpower Investment (m/c, tools,…) layout Product mix Logistics Product development Market
Aggregate Production Plan Master Production Schedule Business Plan Aggregate Production Plan Master Production Schedule Material Management Independent Demand -Inventory model ตาม ความต้องการของลูกค้า Dependent Demand -MRP ตามรายการที่ผลิต Scheduling เป็นสินค้าสำเร็จรูป Just in Time Statistical Process Control Maintenance Operate Productive System input output
แผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต แผนการเงิน แผนการผลิตรวม ตารางการผลิตแม่บท Material requirement Planning Production Scheduling
Planning Relationships Business or annual plan Production or staffing MPS or work-force schedule 7
Aggregate Production Planning เป็นการแปลงแผนธุรกิจออกมาเป็นรายการ ผลผลิตและแรงงานที่ใช้ในภาพรวม กรอบระยะเวลา ปานกลาง ( 6 - 18 เดือน เพื่อจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด องค์ประกอบพิจารณา อัตราการผลิต ระดับการจ้างแรงงาน ระดับสินค้าคงคลังในมือ
Aggregate Production Planning เป็นการแปลงแผนธุรกิจออกมาเป็นรายการ ผลผลิตและแรงงานที่ใช้ในภาพรวม กรอบระยะเวลา ปานกลาง ( 6 - 18 เดือน เพื่อจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด องค์ประกอบพิจารณา อัตราการผลิต ระดับการจ้างแรงงาน ระดับสินค้าคงคลังในมือ
Managerial Inputs Supplier capabilities Storage capacity Materials availability Materials Current machine capacities Plans for future capacities Work-force capacities Current staffing level Operations New products Product design changes Machine standards Engineering Labor-market conditions Training capacity Human resources Cost data Financial condition of firm Accounting and finance Aggregate plan Customer needs Demand forecasts Competition behavior Distribution and marketing 15
องค์ประกอบการพิจารณาวางแผนการผลิตรวม อัตราการผลิต เปลี่ยนแปลงมีต้นทุน แรงงาน เข้า มีต้นทุนการจัดหา จ้าง อบรม ออก มีต้นทุนปลดออก สินค้าคงคลังเหลือ มีต้นทุนการจัดเก็บรักษา สินค้าคงคลังขาด มีต้นทุนค่าเสียโอกาส จ้างรับช่วงผลิตภายนอก มีต้นทุนการจ้าง ต้องหาสัดส่วนองค์ประกอบที่ดีที่สุดที่ต้นทุนต่ำสุด
กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม Chase strategy Level strategy Stable workforce-variable work hours
วัตถุประสงค์การวางแผนการผลิตรวม ลดต้นทุนต่ำสุดและทำกำไรสูงสุด บริการลูกค้าให้ได้มากที่สุด ลดการลงทุนในสินค้าคงคลังให้ต่ำสุด ลดการเปลี่ยนแปลงในอัตราการผลิตให้น้อยที่สุด ลดการเปลี่ยนแปลงในระดับการจ้างงานให้น้อยที่สุด ใช้ประโยชน์ในอาคารและเครื่องจักรให้มากที่สุด
รายงาน Aggregate Production Planningของ Dummy project ดูProcess Technology ว่าเราเลือกอะไร มากำหนดว่าเราจะเลือกกลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวมแบบไหน Chase หรือ Level บอกมาว่าจะพิจารณาองค์ประกอบต่อไปนี้อย่างไร อัตราการผลิต ระดับการจ้างแรงงาน ระดับสินค้าคงคลังในมือ
APP Using Pure Strategies Quarter Sales Forecast (lb) Spring 80,000 Summer 50,000 Fall 120,000 Winter 150,000 Hiring cost = $100 per worker Firing cost = $500 per worker Inventory carrying cost = $0.50 pound per quarter Production per employee = 1,000 pounds per quarter Beginning work force = 100 workers
Level Production Strategy Sales Production Quarter Forecast Plan Inventory Spring 80,000 100,000 20,000 Summer 50,000 100,000 70,000 Fall 120,000 100,000 50,000 Winter 150,000 100,000 0 400,000 140,000 Cost = 140,000 pounds x 0.50 per pound = $70,000
Chase Demand Strategy Sales Production Workers Workers Workers Quarter Forecast Plan Needed Hired Fired Spring 80,000 80,000 80 - 20 Summer 50,000 50,000 50 - 30 Fall 120,000 120,000 120 70 - Winter 150,000 150,000 150 30 - 100 50 Cost = (100 workers hired x $100) + (50 workers fired x $500) = $10,000 + 25,000 = $35,000
6 M or 12 M plan ( Fiscal Budget concerned ) Strategic Plan Sale plan Stock plan Production plan Material consumption plan Capacity plan Material stock plan Manpower plan Investment plan Material requirement plan
Operate Productive System Aggregate Plans Master Production Scheduling Material Management Inventory Systems Operation Scheduling Quality Control Maintenance
Master Production Schedule เป็นแผนการผลิตหลักระยะสั้นที่มีอุปสงค์จากลูกค้าชัดเจนแล้ว มีการระบุรุ่นสินค้า จำนวนและเวลาการส่งมอบที่ชัดเจน แต่ยังไม่มีกำหนดตารางการผลิตในรายละเอียดที่ลงถึงการปฎิบัติงาน
3 M plan Sale plan Stock plan Production plan Material consumption Capacity adjustment > Manpower, Machine Method Production scheduling Material stock plan Delivery scheduling Material requirement plan
Master Production Schedule เป็นแผนการผลิตหลักระยะสั้นที่มีอุปสงค์จากลูกค้าชัดเจนแล้ว มีการระบุรุ่นสินค้า จำนวนและเวลาการส่งมอบที่ชัดเจน แต่ยังไม่มีกำหนดตารางการผลิตในรายละเอียดที่ลงถึงการปฎิบัติงาน
Master Production Schedule