งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
โดย นางดวงกมล สุริยฉัตร ผู้อำนวยการสำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

2 Industry 4.0: The 4th Industrial Revolution
Industry 4.0 is the current trend of automation and data exchange in manufacturing technologies. It includes cyber-physical systems (CPS), the Internet of things (IoT) and cloud computing. Industry 4.0 creates what has been called a “Smart Factory". 2

3 “Factory of The Future”
3

4 “Internet of Everything”
4

5 “Everything Gets Smart”
Smart Logistics Smart Mobility Smart Products Smart Grids Smart Buildings Smart Farms Smart People? 5

6 “Smart People” 6

7 ให้ความสำคัญเรื่องบุคลากรเป็นอันดับต้น ๆ
“Smart People – a key factor in Industry 4.0” ผลการศึกษาสำรวจของ PricewaterhouseCoopers (PWC) survey of 235 German industrial companies , 2014 “Industry Opportunities and challenges of the industrial internet” Challenge for the Successful Implementation of Industry 4.0 Successful implementation of Industry 4.0 requires a widespread support by policy maker ให้ความสำคัญเรื่องบุคลากรเป็นอันดับต้น ๆ 7

8 “Labor is the value driver”
The Digital Compass The compass consists of eight basic value drivers and 26 practical Industry 4.0 levers McKinsey & Company, Manufacturing’s next act, June 2015 8

9 Thailand 4.0 & National Human Capital Development
Knowledge Worker / High Skilled Labors Skilled Labors 9

10 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย
1.สร้างบุคลากรใหม่-ภาคการศึกษา 2.พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่-ภาครัฐและเอกชน ศึกษาหลักสูตรด้านโลจิสติกส์โดยตรง หน่วยที่เปิดสอน (ป.ตรี) แห่ง มหาวิทยาลัยรัฐ แห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 4 แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ แห่ง มหาวิทยาลัยเอกชน แห่ง อบรมให้ความรู้ และเพิ่มทักษะให้กับบุคลากรในทุกระดับ ทั้งProducers และ LSPs เจ้าหน้าที่เทคนิค ระดับปฏิบัติการ ระดับหัวหน้างาน/ ผู้จัดการ ระดับผู้บริหาร ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ - กระทรวงแรงงาน (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน) - กระทรวงอุตสาหกรรม (สำนักโลจิสติกส์ กพร. และหน่วยงานของ กสอ.) - กระทรวงพาณิชย์ - ฯลฯ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผู้สำเร็จการศึกษา ปี 2558 การฝึกอบรมสร้างนักโลจิสติกส์* การสร้างที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์* ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน ปี คน อาชีวศึกษา 1,074 คน ปริญญาตรี 2,563 คน ปริญญาโท คน ปริญญาเอก คน Total 2,468 คน Total 264 คน หมายเหตุ: * ดำเนินการโดยสำนักโลจิสติกส์ กระทรวงอุตสาหกรรม 1010

11 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย
บุคลากรด้านโลจิสติกส์ (ปี 2559) ผู้จัดการ, 3.82% ผู้ชำนาญการ, 1.70% Total 1,226,940 คน เจ้าหน้าที่เทคนิค, 4.83% ผู้ปฏิบัติงาน, 89.65% ผู้จัดการ 46,869 คน ผู้ชำนาญการ 20,858 คน เจ้าหน้าที่เทคนิค 58,261 คน ผู้ปฏิบัติงาน 1,099,952 คน หมายเหตุ: ยังไม่รวม ผู้ออกจากกำลังแรงงาน และผู้เปลี่ยนงาน ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษา ปี ประมาณการจำนวนบุคลากรด้านโลจิสติกส์ (ณ ปี 2564) อาชีวศึกษา 6,243 คน ปริญญาตรี 14,897 คน ปริญญาโท 1,918 คน ปริญญาเอก คน Total 1,396,443 คน ผู้จัดการ 53,344 คน ผู้ชำนาญการ 23,740 คน เจ้าหน้าที่เทคนิค 67,448 คน ผู้ปฏิบัติงาน 1,251,911 คน ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1111

12 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาโลจิสติกส์ โครงสร้างหลักสูตร วิชาเอกบังคับ การจัดการโลจิสติกส์/ โซ่อุปทาน การจัดการสินค้าคงคลัง/ คลังสินค้า การขนส่ง/ การกระจายสินค้า การฝึกงาน/ สหกิจศึกษา วิชาเอกเลือก ระบบสารสนเทศสำหรับโลจิสติกส์ กฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยของการขนส่ง หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ การบริหารการจัดซื้อ ระบบบรรจุภัณฑ์ การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ หรือการขนส่งทางอากาศ หรือการขนส่ง ทางทะเล ระบบขนถ่ายวัสดุ การจัดการการผลิต หลักสูตรที่เน้นการจัดการ หลักสูตรที่เน้นด้านวิศวกรรม หลักสูตรที่ผสมผสานการจัดการและวิศวกรรม Knowledge ที่มา : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาโลจิสติกส์ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฝึกอบรมเฉพาะทางด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน หลักสูตรสำหรับที่ปรึกษา Strategic Supply Chain and Logistics Management Inventory Management Production Planning and Control Management Distribution Management MS Excel for Logistics Decision Making Strategic Customers Relationship Management Strategic Suppliers Relationship Management The Supply Chain Operation Reference Model อื่น ๆ บริหารจัดการการผลิตและสินค้าคงคลัง (Production and Inventory Management: PIM) การบริหารจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า (Warehouse and Distribution Management: WDM) การบริหารจัดการการจัดหาและจัดซื้อวัตถุดิบและสินค้า (Sourcing and Procurement Management: SPM) การบริหารจัดการการขนส่ง (Transportation Management: TM) หมายเหตุ: ดำเนินการโดยสำนักโลจิสติกส์ กระทรวงอุตสาหกรรม 1212

13 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับภาคอุตสาหกรรม
ดำเนินการโดยสำนักโลจิสติกส์ แบ่งการพัฒนาออกเป็น 3 กลุ่ม การสร้างที่ปรึกษาด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Industrial Logistics and Supply Chain Consultants) เป็นบุคลากรประเภทที่ปรึกษาให้มีคุณภาพสามารถดำเนินการวินิจฉัยและให้คำปรึกษาแนะนำแก่สถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับทั่วไป (Consultant Level) ระดับเฉพาะทาง (Specialist Level) และระดับเชี่ยวชาญ (Expert Level) การสร้างนักจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Industrial Logistics and Supply Chain Personnel) เป็นบุคลากรที่ทำงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมให้มีทักษะและองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่ได้มาตรฐานในระดับสากล เพื่อให้สามารถพัฒนาและยกระดับประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานขององค์กรของตน แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับปฏิบัติการและหัวหน้างาน (Operational/Supervisory Level) ระดับอาวุโสหรือผู้จัดการ (Senior Level) และระดับกลยุทธ์หรือผู้บริหาร (Strategic Level) การสร้างบุคลากรด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานก่อนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม (Pre-Industrial Logistics and Supply Chain Personnel) เป็นบุคลากรที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาหรือบัณฑิตจบใหม่ที่กำลังจะเข้าสู่การทำงานในภาคอุตสาหกรรม ให้มีทักษะและองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ที่พร้อมปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรม 1313

14 การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทย
Workshop On the job training (JOB) ฝกวินิจฉัยและใหคําปรึกษาการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ 60 ชั่วโมง จัดทำ Workshop วิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไข (Action plan) กรณีศึกษา ความสำเร็จในการพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์และ ซัพพลายเชนในองค์กร ประกวดสถานประกอบการต้นแบบด้านการจัดการโลจิสติกส์ภายในองค์กร ปี 52 จังหวัด 3,800 คน Logistics Management Skills หมายเหตุ: ดำเนินการโดยสำนักโลจิสติกส์ กระทรวงอุตสาหกรรม 1414

15 Industry 4.0: Essential competence requirement
IT & e-Skills Transforming toward the value-based economy Innovation Technology & Creativity Trade in Service ที่มา:ดร. สุวิทย์ เมษินทรีย์ แนวโน้ม 9 เทคโนโลยีสำคัญ Big Data and Analysis Autonomous Simulation Internet if Things Horizontal and Vertical System Integration The Cloud Additive Manufacturing Augmented Reality Cyber Security (ที่มา Productivity Conference 2015) ที่มา: ESB Business School Reutlingen / Fraunhofer Austria Research / TU,ViennaImplications for Learning Factories from Industry 4.0 Challenges for the human factor in future production scenarios 1515

16 Core work-related skills for the future jobs.
ที่มา: The Future of Jobs: Employment, Skills and Workforce Strategy for the Fourth Industrial Revolution, World Economic Forum, January 2016 ทักษะด้านอื่นที่สำคัญ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1616

17 ทิศทางการพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ในอนาคต
TOP 10 Skills Important in the Workforce in 2020 Logistics Management เกี่ยวข้องกับ การวางแผน การดำเนินงาน การควบคุม การบริหารจัดการคน วัตถุดิบ สินค้า ข้อมูล และธุรกรรมการเงิน การบริการก่อนและหลังการขาย Supply Chain Management เกี่ยวข้องกับ การสร้างความร่วมมือ สร้างเครือข่าย การประสานงาน การเชื่อมโยงข้อมูล Top 5 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์* คุณธรรมและจริยธรรม ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ประสบการณ์ภาคสนาม ทักษะทางปัญญา ความรู้ ที่มา: *การเปรียบเทียบความพึงพอใจในการใช้บัณฑิตกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี ฉบับที่ 22, 2559 1717

18 ประเด็นท้าทาย Challenges Meet the Needs Quality VS Quantity
1 2 3 Meet the Needs Quality VS Quantity คุณธรรมและจริยธรรม 1818

19 ขอขอบคุณ สำนักโลจิสติกส์ 0 2202 3617 http://www.logistics.go.th/


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google