เวที .. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฎิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
(District Health System)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เวที .. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฎิบัติการ ชุมชนเดินทางปลอดภัย .. เกริ่นนำ .. นำเสนอ .. บทเรียนดี ๆ จากพื้นที่ต้นแบบ ปทุมวิลเลจ .. ชุมชนปลอดภัย แบบมีส่วนร่วม อบต.แพง ร่วมใจ ..สร้างถนนปลอดภัยแก้ไขจุดเสี่ยง ชุมชนปลอดภัย .. วังทรายพูน จ.พิจิตร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ .. จากผู้ร่วมประชุม ศูนย์วิชาการเพื่อ ความปลอดภัยทางถนน ศวปถ.

โจ๋ไทย .. ตายเพราะเหล้า – มอเตอร์ไซด์สูงสุด .. วัยรุ่นไทย .. อายุต่ำกว่า 15 ปี ที่บาดเจ็บเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล 29 แห่ง พบว่า 1/3 มาจากอุบัติเหตุจราจร (บาดเจ็บ 9,840 ราย เสียชีวิต 334 ราย) พาหนะต้นเหตุ คือ รถมอเตอร์ไซด์ (70% ) ผู้บาดเจ็บ 97% พบว่าดื่มสุรา และ 95% ไม่สวมหมวกกันน๊อค ส่วนใหญ่เกิดในช่วงเวลา 16.00 – 24.00 น. ในวันเสาร์ - อาทิตย์ สร้างถนนขึ้นมาเยอะแยะ แต่ไม่ได้สร้างจิตสำนึกขึ้นมาด้วย .. สุดท้ายก็มาตายบนถนน ที่ช่วยกันสร้างขึ้นมา นายก อบต. ต.ตลาด อ.เมือง นครราชสีมา

บังคับใช้กฎหมายอย่างต่อเนื่อง ระดับปัญหา-สาเหตุ อุบัติเหตุจราจร .. ปัจเจก ตาย 35 คน/วัน เข้า รพ. 2,700 คน/วัน พิการสะสม 100,000 คน ความสูญเสีย 2 แสนล้าน/ปี ปัจจัยเสี่ยง โครงสร้าง รถ ถนน สภาพชำรุด ขาดป้ายเตือน สภาพไม่พร้อม ดัดแปลง คน พฤติกรรม .. ขับเร็ว ดื่มสุรา ง่วง วัฒนธรรม ราก ปัญหา สิ่งแวดล้อม .. ออกแบบไม่เหมาะ ขาดระบบตรวจสอบ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม การกวดขัน บังคับใช้กฎหมายอย่างต่อเนื่อง

สังคมไทย .. ในสายตาฝรั่ง

ประเพณี .. วิถีชีวิต แบบไทย ๆ

เป็นสิ่งปกติ ของสังคมไทย ความเร็ว .. ความเร่งรีบ .. เป็นสิ่งปกติ ของสังคมไทย

ข้ามถนนเมืองไทย .. ไม่ง่าย อย่างที่คิด

ช่วยกัน .. ถอดบทเรียน อะไรคือ .. ความสำเร็จ – ความภูมิใจ อะไรคือ .. เงื่อนไข – ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ (เบื้องหลัง / เคล็ด ลับความสำเร็จ) ชุมชน .. วิเคราะห์ – สร้างความเข้าใจปัญหาได้อย่างไร ชุมชน .. ระดมการมีส่วนร่วมอย่างไร ชุมชน .. มีวิธีสร้างการเรียนรู้ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้อย่างไร ชุมชน .. มองหาทางออกของตัวเองได้อย่างไร อะไรคือ .. สิ่งที่ท่านเรียนรู้ (ปิ๊ง) และนำกลับไปใช้

สำหรับทิศทางการดำเนินงานของ อปท. สรุป .. ข้อเสนอแนะ สำหรับทิศทางการดำเนินงานของ อปท. ในการป้องกันแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร

บทบาท อปท. ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร 1 5 ท้องถิ่น-ชุมชนมีแผนปฏิบัติการเพื่อปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนตระหนักในเรื่องความปลอดภัย ส่งเสริมวินัยจราจร พร้อมทั้งจัดให้มีการบรรจุเรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน เป็นหลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพท้องถิ่นมีบทบาทในการสนับสนุนการให้บริการฉุกเฉิน (Emergency Medical Service : EMS) เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการตามมาตรฐานขั้นพื้นฐาน 4 รัฐบาลและท้องถิ่นต้องร่วมกันส่งเสริมสนับสนุนระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อเป็นทางเลือกทดแทนการใช้รถจักรยานยนต์และรถยนต์ส่วนตัวโดยไม่จำเป็น โดยคำนึงถึงบริการที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงทั่วทุกภูมิภาค ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้บริการได้โดยสะดวก ปลอดภัย และให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตของประชาชนมากกว่าความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจเท่านั้น 7 ข้อเสนอ.. บทบาท อปท. ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร ท้องถิ่น ชุมชน ถนนปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ 3 มีการพัฒนามาตรฐานการป้องกันอุบัติภัยทางถนนและระบบจูงใจให้แต่ละท้องถิ่นนำไปดำเนินการ โดยเน้นการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการสำรวจและแก้ไขจุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จัดทำระบบข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุจราจรในพื้นที่ และมีการตรวจสอบความปลอดภัยบนท้องถนนอย่างต่อเนื่อง 6 สนับสนุนบุคลากรท้องถิ่นให้มีสมรรถนะในการป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7 2 มีกลไกประสานงานความปลอดภัยทางถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อประสานและเชื่อมโยงการทำงานของทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง และดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อปท. ทล. ทช. ควรดำเนินการส่งเสริมกระบวนการออกแบบถนนที่คำนึงถึงวิถีชีวิต และประโยชน์ของชุมชนสองข้างทาง พร้อมทั้งนำหลักวิชา การจัดการเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ( Road Safety Audit ) มาเป็นเครื่องมือในการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ข้อเสนอ จาก .. เวทีสัมมนาอุบัติเหตุแห่งชาติ ครั้งที่ 8 และ เวที ศปถ.

หัวใจสำคัญ อยู่ที่ปรับเปลี่ยน แนวคิด .. คนทำงาน แยกส่วน ต่างคนต่างทำ  บูรณาการ - ภาพรวม ติดกรอบ สูตรสำเร็จ  เรียนรู้ ปรับวิธี ตามบริบท แก้ปลายเหตุ (รณรงค์)  แก้ที่รากปัญหา รองบส่วนกลาง  หาแนวร่วม เจ้าภาพใหม่ๆ ทำเป็นช่วง ๆ  ทำต่อเนื่อง เกาะติด

บทเรียน .. การขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ A สสส กลุ่ม เป้าหมาย แกนนำ ในระดับพื้นที่ B งบอื่น ๆ กองทุนเลขสวย ท้องถิ่น สปสช. ฯลฯ ภาครัฐ ภาคสังคม / ปชช. ภาคธุรกิจ ท้องถิ่น ภาคีใน ระดับพื้นที่

ทำไม .. ผู้ใหญ่จึงคิดแต่จะสร้างกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ? สิ่งที่ผู้ใหญ่ .. มักจะทำ กับ สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ผู้ใหญ่มักจะทำ คือ การควบคุม (control) ? ผ่านการออกกฎเกณฑ์ และ ข้อบังคับต่างๆ สิ่งที่ผู้ใหญ่ควรจะทำ ? การสร้างค่านิยมที่ดีของชุมชน ปลูกฝังคุณค่า ค่านิยมให้เยาวชน เช่น เป็นแบบอย่าง ส่งเสริมเรื่องดีๆ ทำไม .. ผู้ใหญ่จึงคิดแต่จะสร้างกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ?

สภาวะ .. ที่สร้างการเรียนรู้ Defense mode สภาวะปิดกั้น อยู่ในสภาวะเปิดใจ/พร้อม รู้สึกสนุก บรรยากาศสบายๆ สัมพันธ์แนวราบ มีการกระตุ้นด้านบวก มีคนรับฟัง ในสภาวะคับขัน/ระวังตัว สมองจะหยุดการเรียนรู้ เพื่อเตรียมพร้อม เช่น สถานการณ์ฉุกเฉิน ความสัมพันธ์แนวดิ่ง บรรยากาศด้านลบ ถูกกดดัน ตำหนิ บีบคั้น Learning mode สภาวะเรียนรู้

Learning pyramid : การรับรู้ของคน 10% การอ่าน 20% การฟัง การอ่าน การฟัง รับรู้จากการฟัง เห็น พูด 30% สิ่งที่เราเห็น ดูภาพ-ภาพยนตร์ รับรู้จากการ มองเห็น 50% เห็น + ฟัง ชมสาธิต - ไปดูงาน 70% สิ่งที่เราพูด ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น จากการมี ส่วนร่วม ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จำลอง ลงมือทำจริง สรุปผล + นำเสนอผล (เล่าต่อ) 90% สิ่งที่เรา ได้ลงมือทำ

บทเรียนความสำเร็จ .. จากบทบาทผู้นำ เริ่มจากปรับเปลี่ยน .. วิธีคิด + วิธีทำงาน จาก..กรอบคิด-ทัศนะเก่า  สู่ มุมมองใหม่ๆ จาก..ต่างคนต่างทำ  สู่ แกนนำ ทีม-เครือข่าย จาก..การสั่งการ  สู่ การเรียนรู้ร่วมกัน ลุกขึ้นมา .. เป็น เจ้าภาพ ด้วยตัวเอง