งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
โดย นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

2 “ โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555 ”
ที่มา สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 1 ธันวาคม 2554

3 ทิศทางการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
3

4 สภาพการณ์เปลี่ยนแปลง
การระบาดของโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคชิคุนกุนยา การเดินทาง คมนาคมสะดวก โลกาภิวัต สภาพสุขภาพของประชาชน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค การตื่นตัวในการมีส่วนร่วมของประชาชน ท้องถิ่นมีบทบาทในป้องกันควบคุมโรค รัฐธรรมนูญฉบับปี2550 ระบุว่าเป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น การพัฒนาระบบบริการ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

5 แนวคิดการพัฒนา ให้ท้องถิ่นรู้ปัญหาของตนเอง วางแผนร่วมกัน
รวมทรัพยากรและใช้ร่วมกัน เฝ้าระวังโรคในระดับพื้นที่ ตอบโต้การควบคุมโรคทันที

6 “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง
อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 6

7 กรอบความคิด : พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรคเข้มแข็ง คุณลักษณะที่ชี้บ่ง ความเข้มแข็งและยั่งยืน ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบคุมโรคที่เป็นปัญหา ระดมทรัพยากรมาดำเนินการ จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรค บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

8 กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ
รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ อนาคต ปัจจุบัน 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

9 กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูลทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไขตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

10 ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์
กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” * ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย อิมแพ็ค เมืองทอง MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” จัดทำแผนแม่บท เชิดชู ให้รางวัล กย. 54 ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของ ผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผู้ว่าฯ 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5. * กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี ด้านนโยบาย อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ให้ สคร. สสจ สสอ. สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 จากทั้งหมด 9,750 แห่ง สคร. สื่อสาร แนวทาง การประเมินผล สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/เชียงใหม่/นครศรีธรรมราช) ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์แนวทางการประเมินฯ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด * KM Learning ระดับประเทศ * M&E will focus on accreditation ด้านวิชาการ สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร ติดตาม สะท้อนผลงาน สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร.ให้ชัดเจน

11 กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 2555 *ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ปี 54 ปี ปี 2555 : กรมฯ จัดทำคำสั่ง/อนุมัติโครงการแล้ว ปี ผลักดันเป็นตัวชี้วัดของผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผวจ. 3. เชิดชู ให้รางวัล : ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5. * กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี ด้านนโยบาย กองแผนงานเป็นหลัก ข้อสังเกต อุทกภัย 54 อำเภอควบคุมโรคฯ ส่งผลต่อความพร้อมของระบบเฝ้าระวังฯ อย่างไร เช่น การมีส่วนร่วมของเครือข่าย, ข้อมูลฯ , SRRT ตำบล, ผลการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุง เตรียมพร้อมในสถานการณ์ปกติและภาวะฉุกเฉินในอนาคต อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด * M&E will focus on accreditation * KM Learning ระดับประเทศ ด้านวิชาการ KM / สน,ระบาดฯ เป็นหลัก สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร. ให้ชัดเจน ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สน.เผยแพร่ฯเป็นหลัก

12 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google